Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorLapetch, Preeyamas-
dc.contributor.authorIndusuta, Kanyamon-
dc.contributor.authorปรียามาศ ลาเพ็ชร์-
dc.contributor.authorกัลยมน อินทุสุต-
dc.date.accessioned2021-05-24T03:27:23Z-
dc.date.available2021-05-24T03:27:23Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationดวงฤทัย ดอนไชยสีหา. (2560). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อสมรรถนะการบริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา ในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาโกสัมพี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationซีมีโอ อินโนเทค. (2559). สมรรถนะแห่งความสำเร็จสำหรับผู้อำนวยการโรงเรียนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: แนวทางการเรียนรู้. เกซอนซีตี: ซีมีโอ อินโนเทค.-
dc.identifier.citationนลพรรณ ศรีสุข. (2558). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.-
dc.identifier.citationไพวรรณ สุขสำราญ. (2560). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อสมรรถนะการบริหารงาน วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดกลางในกลุ่มเครือข่าย 23 สำนักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2, กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา. (2562). รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561. ค้นเมื่อ 3 เมษายน 2563, จาก http://www.enewsbkk2. org/ spm2/ forum/data/pic/268.pdf-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟิค.-
dc.identifier.citationสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานการศึกษาไทย พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.-
dc.identifier.citationสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.-
dc.identifier.citationหทัยพัชร ทองเดช. (2560). การศึกษาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในสหวิทยาเขตบูรพาสระบุรี สังกัดเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.-
dc.identifier.citationอัมพวัน อุปนันท์ (2560). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในอำเภอเมืองเชียงใหม่ (เมือง 1) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. วารสารออนไลน์ บัณฑิตศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ค้นเมื่อ 8 เมษายน 2563, จาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/ index.php/abstractData/viewIndex/1744.ru-
dc.identifier.citationอัมรินทร์ จันทาอ่อน. (2557). ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationCohen. L., Manion, L, & Morrison, K. (2011). Research methods in education. (7th ed.). New York: Routledge.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1229-
dc.description.abstractThe study aimed to ( 1) investigate teachers’ perspectives toward the competency of school administrators at Rajchanakarin School consortium under the Secondary Educational Service Area Office 2, (2) compare teachers’ perspectives toward the competency of school administrators at Rajchanakarin School consortium under the Secondary Educational Service Area Office 2 divided by teacher’s educational background and working experience. The sample of 196 teachers at Rajchanakarin School consortium under the Secondary Educational Service Area Office 2, recruited through simple random sampling method and considered sample size through the Cohen Table. The instrument was a five-point rating scale questionnaire which the IOC felt in the range between 0.80-1.00 and the Cronbach’s Alpha showed a level of reliability at 0.987 The data were analyzed through the descriptive statistics, t-test and One-Way Analysis of Variance. The research results were elaborated that 1) The teachers’ perspectives toward the competency of school administrators were performed at a high level overall and in each aspect, 2) the comparison of teachers’ perspectives as divided by their educational background and working experience were not significant differences overall and in each aspect.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียน สหวิทยาเขตราชนครินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อ สมรรถนะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนสหวิทยาเขตราชนครินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำแนก ตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูโรงเรียน สหวิทยาเขต ราชนครินทร์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยอาศัยตารางสำเร็จรูปของโคเฮน (Cohen) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงตรง (IOC) เท่ากับ 0.80-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.987 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์โดยค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียน สหวิทยาเขตราชนครินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectperspectivesen_US
dc.subjectcompetencyen_US
dc.subjectschool administratorsen_US
dc.titleTeachers’ Perspectives on the Competency of School Administrators at Rajchanakarin School Consortium Under the Secondary Educational Service Area Office 2en_US
dc.titleความคิดเห็นของครูที่มีต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียน สหวิทยาเขต ราชนครินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.