Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorAnansirikasem, Phimlada-
dc.contributor.authorChaladlon, Ployprakay-
dc.contributor.authorพิมพ์ลดา อนันต์สิริเกษม-
dc.contributor.authorพลอยประกาย ฉลาดล้น-
dc.date.accessioned2021-05-24T03:08:27Z-
dc.date.available2021-05-24T03:08:27Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกมลรัตน์ เทอร์เนอร์, ลัดดา เหลืองรัตนมาศ, สราญ นิรันรัตน์และคณะ. (2558). “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษา พยาบาล ในวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี”. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. ปีที่ 25 ฉบับที่ 2-
dc.identifier.citationชิดชงค์ ส.นันทนาเนตร. (2560). ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่. นครปฐม: ร้านสีฟ้า สเตชั่นเนอรี่,-
dc.identifier.citationรักษิต สุทธิพงษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19 (2), 344- 355.-
dc.identifier.citationอุไรวรรณ หว่องสกุล. (2554). การพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดแอนดราโกจีของ มัลคอม โนลส์ เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน วิธีเรียนทางไกล. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาตลอดชีวิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationBellanca, J., & Brandt, R. (2010). 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Bloomington, IN: Solution Tree. 2.7.1-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1227-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to 1) instruction design based on Andragogy concept in Biostatistics and Epidemiology, 2) evaluate the learning outcomes according to Andragogy concept in Biostatistics and Epidemiology. The samples were 74 of bachelor nursing students by purposive selection. The activities developed by Andragogy theory which has 7 levels; 1) The establishment of climate conducive to adult learning, 2) the creation for participative planning 3) diagnosis of needs for learning 4) the formulation of direction of learning 5) the development of design of activities 6) the operation of activities and 7) the rediagnosis of learning. The research tools applied this study were knowledge measurement. Data were analyzed by using mean, standard deviation and pair t-test. The results revealed that after teaching according to Andragogy concept in Biostatistics and Epidemiology. The students' knowledge increased significantly (p <0.05) with the highest satisfaction ( = 4.67, S.D. = 0.27).en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดแอนดราโกจีในรายวิชาชีวสถิติและ วิทยาการระบาด 2) ประเมินผลการเรียนการสอนตามแนวคิดแอนดราโกจีในรายวิชาชีวสถิติและวิทยาการระบาด โดยมีกลุ่ม ตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2 จำนวน 74 คน ซึ่งถูกเลือกอย่างเจาะจง การออกแบบการเรียนการสอน ตามแนวคิดแอนดราโกจี 7 ขั้นตอน คือ 1) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน 2) การสร้างกลไกต่างๆ เพื่อให้เกิดการ วางแผนการเรียนรู้ 3) การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน 4) การกำหนดจุดมุ่งหมาย 5) การออกแบบหรือกำหนดกิจกรรม การเรียนรู้ 6) การดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ และ 7) การประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบความรู้รายวิชาชีวสถิติและวิทยาการระบาด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ pair ttest ผลการวิจัย พบว่า หลังการเรียนการสอนตามแนวคิดแอนดราโกจีในรายวิชาชีวสถิติและวิทยาการระบาด ผู้เรียนมีความรู้ สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.67, S.D.=0.27)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectinstruction designen_US
dc.subjectAndragogyen_US
dc.subjectBiostatistics and epidemiologyen_US
dc.titleInstruction Design based on Andragogy Concept in Biostatistics and Epidemiology subjecten_US
dc.titleการออกแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดแอนดราโกจีในรายวิชาชีวสถิติและ วิทยาการระบาด-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.