Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1197
Title: The reliability formation of ex-convicts for returning good citizens to the society
การสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ต้องขังพ้นโทษเพื่อคืนคนดีสู่สังคม
Authors: Jomkun, Sonthaya
สนธยา โจมกัน
Keywords: confidence
Inmates
Department of Corrections
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กิตติพงษ์ กิตยารักษ์. (2551). โครงการเวทีความคิดเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทย : ยุทธศาสตร์การ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทย. คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายร่วมกับกระทรวงยุติธรรม.
กองทรัพย์ ผางแพ่ง. (2561). การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยผู้ต้องขังพ้นโทษ กรณีศึกษา เรือนจำกลางชลบุรี. บทความ จากการค้นคว้าอิสระ. หลักสูตรรัฐประศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นิศา ศิลารัตน์ และวาสิตา บุญสาธร. (2562, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2). ปัจจัยและประโยชน์ในการรับผู้พ้นโทษเข้าทำงาน ในองค์กร,วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ. คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์.
นัทธี จิตสว่าง. (2540). หลักทัณฑวิทยา : หลักการวิเคราะห์ระบบงานราชทัณฑ์. กรุงเทพฯ : กรมราชทัณฑ์. ประกาศกรมราชทัณฑ์ เรื่อง หลักเกณฑ์การคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดเข้าโครงการพักการลงโทษกรณีมีเหตุพิเศษ หลักสูตร เตรียมความพร้อมก่อนปล่อย (เรือนจำโครงสร้างเบา) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง พ.ศ. 2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง พ.ศ. 2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการกำหนดหลักสูตร หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ต้องขัง พ.ศ. 2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการประกอบศาสนกิจของผู้ต้องขัง พ.ศ. 2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยเด็กในการดูแลของผู้ต้องขัง พ.ศ. 2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการดูแลผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560
วีระชัย เพ็ชรครุฑ. (2549). แนวทางการพัฒนาและการดำเนินการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขังเรือนจำกลาง กำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฎักำแพงเพชร
อัญชลี สว่างวงษ์. (2550). ความพร้อมในการดำรงชีวิตภายนอกเรือนจำของผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดนนทบุรีก่อนได้รับการปลดปล่อย. สารนิพนธ์มหาบัณฑติ คณะสังคมสงเคราะหศ์าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มติชนออนไลน์. (2559). เจาะเรือนจำโครงสร้างเบา แก้ไขปัญหาผู้ต้องขังล้นคุก ฝึกเข้มก่อนสู่ประตูเสรีภาพ. ค้นเมื่อ 16 พ.ค. 63 จาก https://www.matichon.co.th/local/crime/new.
คมชัดลึก. (2559). เรือนจำโครงสร้างเบาแก้ไขปัญหานักโทษล้นคุก. ค้นเมื่อ 16 พ.ค. 63 จาก https://www.komchadluek.net/news/crime/220633.
United Nation Standard Minimum Rules for non – custodial Measures (The Tokyo Rules). Retrieved September 12, 2012. ค้นเมื่อ 16 พ.ค. 63 จาก www.ohchr.org. 2270
Abstract: Department of corrections, Ministry of Justice is the last step of justice processes in performing court judgment with any offender. Simultaneously, the process proceeded court judgment depending on modern penological principles and minimum criteria of standard legislated by United Nations. However, some of the inmates could not live happily in the society after exoneration. There were a lot of causes affecting as follows; some did not adapt themselves to the society, had no accommodation, income, and career, were broken family, and the society did not accept. Although the Ministry of Justice prepared the new projects for inmates before releasing, we faced the problems in a way that those projects were not successful. The results indicated that the society was still concerned about releasing inmates in a sense of process reliability, the amount of releasing inmates in each time, and behavior guarantee. These made people reliable both inmates and the society. Also, these were models of improving and developing the preparation process before releasing inmates related to the actual society’s needs.
กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ถือเป็นหน่วยงานขั้นสุดท้ายในกระบวนการยุติธรรม ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด ให้เป็นไปตามคำพิพากษาของศาล ในขณะเดียวกันยังต้องปฏิบัติต่อผู้ต้องถูกลงโทษตามคำพิพากษาดังกล่าวให้เป็นไปตาม หลักทัณฑวิทยาสมัยใหม่ และตามข้อกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำสำหรับปฏิบัติต่อผู้ต้องขังตามแนวทางของสหประชาชาติ แต่ อย่างไรก็ตามเมื่อพ้นจากการถูกลงโทษแล้ว ส่วนหนึ่งไม่สามารถกลับเข้าสู่สังคมและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข เนื่องจากปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้ ไม่มีที่อยู่อาศัย ครอบครัวแตกแยก ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ที่มั่นคง สังคมไม่เปิดโอกาสหรือ ให้การยอมรับ แม้กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรมได้จัดให้มีโครงการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ต้องขังในเรือนจำหรือทัณฑ สถานก่อนปล่อยตัวออกมาสู่สังคม (เรือนจำโครงสร้างเบา) แล้วก็ตาม ก็ยังประสบกับปัญหาอุปสรรคที่ทำให้โครงการดังกล่าว ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมายได้เท่าที่ควร จากการศึกษาค้นคว้าจึงพบว่าสิ่งที่สังคมยังมีความกังวลเกี่ยวกับการปล่อยตัวผู้ต้องขัง คือความน่าเชื่อถือได้ของ กระบวนการต่างๆ ก่อนปล่อยตัว จำนวนผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยออกมาในแต่ละครั้ง และหลักประกันความประพฤติ ทั้งนี้เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ทั้งตัวผู้ต้องขังและสังคมโดยรวมอีกทั้งยังเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเตรียมความ พร้อมของผู้ต้องขังก่อนปล่อยตัวให้สอดรับกับความต้องการของสังคมอย่างแท้จริง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1197
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.