Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1174
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Charroenapharatsamee, Tuntikorn | - |
dc.contributor.author | ตัณฑ์ติกร เจริญอาภารัศมี | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-20T03:15:28Z | - |
dc.date.available | 2021-05-20T03:15:28Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | กนกวรรณ อู่ทอง. (2558).การวิเคราะห์ผลกระทบนโบายการเปิดเขตเศรษฐกิจชายแดนแม่สอด (ไทย)-เขตเศรษฐกิจ พิเศษเมียวดี(พม่า)ภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์:กรุงเทพมหานคร. | - |
dc.identifier.citation | กรกรัณย์ ชีวะตระกุลพงษ์. (2558). แนวทางและมาตรการเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่แนวชายแดน ของไทย. สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้และการพัฒนา: กรุงเทพมหานคร | - |
dc.identifier.citation | กรมส่งสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2561). คู่มือโอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนในประเทศมาเลเซีย. กระทรวงพาณิชย์: นนทบุรี | - |
dc.identifier.citation | กิตติ สุทธิสัมพันธ์. (2560). กรพัฒนาการค้าชายแดนเพื่อสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย. วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร: กรุงเทพมหานคร | - |
dc.identifier.citation | ณัฐพล บัวเปลี่ยนสี.(2561).รูปแบบการพัฒนาบุคลากรในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเพื่อรองรับ อุดสาหกรรมเป้าหมายในอนาคต. วารสารสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 4(1), 303 - 315. | - |
dc.identifier.citation | ปวริตร เลิศธรรมเทวี วรรณิวภา พัวศิริ. และวิภาวิ่ รุ่งวณิซชา. (2560). การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามแนวทางของ อาเซียน. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎระกรุงเทพมหานคร | - |
dc.identifier.citation | พรทิพย์ ตันติวิเศษศักดิ์ และอดิศร ณ อุบล. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการลงทุนโดยตรงของจีนในไทยเปรียบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบ้านอาเขียนระหว่างปี 2543 - 2559. สุทธิปริทัศน์, 32(104), 169 - 182. | - |
dc.identifier.citation | วรกาญจน์ สุขสดเขียว และคณะ. (2560). แนวทางการพัฒนากฎหมายกรศึกษาเพื่อการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ. Veridian E-Journal, 10(2), 844 - 860. | - |
dc.identifier.citation | สุณัฐวีย์ น้อยโสภา. (2560).เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน กลไกก้าวข้ามอุปสรรคทางการค้าและการลงทุนระหว่าง ประเทศ. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 13(2), 87 - 98. | - |
dc.identifier.citation | อภิญญา วนเศรษฐ. (2561). บทบาทการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชะนนทบุรี. | - |
dc.identifier.citation | Malaysia Investment Development Authority. (2562). Malaysia Investment Performance Report 2018. มาเลเซีย. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1174 | - |
dc.description.abstract | A study of factor consideration that makes special economic zone of Malaysia success has an objective to study the factor that affect Iskandar special economic zone success by studying in related laws which forced in Malaysia’s special economic zone, measures and policies that enforced in special economic zone for directly attraction in investment from foreign countries to Malaysia by studying in a base of forensic economic. By economic perspective, the study applies secondary data from the related agencies in analysis. In term of forensic economic part, it is analyzed and studied in law act in Malaysia’s special economic zone include Iskandar Regional Development Authority Act 2 0 0 7 . The Study’s result shows 2 factors of happiness and success special economic zone is directly affect and indirect affect consisting of government investment factor and investment facility factor. For the related laws which forced in Iskandar special economic zone, Iskandar special economic zone is enforcing Iskandar Regional Development Authority Act 2007 or IRDA Act 2007 through Law of Malaysia Act 667 especially in Iskandar special economic zone supervision area. This law is governed by Iskandar Regional Development Authority in order to proceed in the right direction including any policies and strategies that relate to Iskandar special economic zone’s development. In addition, this would improve and ease the coordination between government departures in trade support, investment and development in Iskandar special economic zone. Moreover, the measures and policies that enforced in Iskandar special economic zone to attract foreigner’s direct investment is set on 5 strategic structures of Iskandar special economic zone including International Rim Positioning, Establishing Hard and Soft Infrastructure Enablers, Investment in Catalytic Projects, Establishing a strong institutional framework and the creation of a strong regulatory authority and Ensuring socio-economic equity and buy-in from local population | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาการพิจารณาปัจจัยที่ทำให้เขตศรษฐกิจพิเศษของประเทศมาเลเชียประสบความสำเร็จ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของเขตศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ศึกษากฎหมายเกี่ยวข้อง และถูกบังคับใช้ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของประเทศมาเลเซีย และมาตรการ และนโยบายที่บังคับใช้ในเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ของประเทศมาเลเซีย โดยการศึกษาเชิงนิติเศรษฐศาสตร์ โดยในมุมมองของเศรษฐศาสตร์จะใช้ข้อมูลเชิงทุติยภูมิที่ได้จาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการวิเคราะห์ ส่วนในด้นของนิติศาสตร์จะเป็นการวิเคราะห์และศึกษาถึงกฎหมายที่ใช้ใน เขตเศรษฐกิจพิศษของประเทศมาเลเพีย ได้แก่ Iskandar Regional Development Authority Act 2007 ผลการศึกษา พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขความสำร็จของเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ซึ่งส่งผลโดยตรง และส่งผลโดยอ้อม อันประกอบด้วยปัจจัยการลงทุนจากภาครัฐ และปัจจัยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกในการลงทุน ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องและ ถูกบังคับใช้ในเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ พบว่าเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์นั้น มีการใช้ Iskandar Regional Development Authority Act 2007 หรือ IRDA Act 2007 ผ่าน Law of Malaysia Act 667 ในการกำกับดูแลพื้นที่ของ เขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์โดยเฉพาะ ซึ่งกฎหมายนี้เป็นกฎหมายที่ใช้ควบคุม Iskandar Regional Development Authority เพื่อที่จะให้ดำเนินไปในทิตทางที่เหมาะสม รวมถึงนโยบายต่างๆและกลยุทธ์ที่มีความสัมทันธ์ต่อการพัฒนาในเขต เศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ บอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มความสะดวกในการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานของรัฐในการ สนับสนุนการคำ การลงทุน และการพัฒนาในเขตศรษฐกิจพิศษอีสกันดาร์ นอกจากนั้นด้านมาตรการ และนโยบายที่บังคับใช้ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ เพื่อดึงดูดก ารลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ พบว่าเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์กำหนด 5 โครงสร้างทางยุทธศาสตร์ของเขตศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ ได้แก่ กรวางตำแหน่งขอบระหว่างประเทศ (nternational Rim Positioning) การสร้างโครงสร้างพื้นฐานทั้งรูปธรรมและนามธรรม (Establishing Hard and soft Infrastructure Enablers) ตัวช่วยทางการลงทุนในตัวเร่งโครงการ (Investment in Catalytic Projects) การกำหนดหน่วยงานในการ วางแผนและการสร้างหน่วยงานที่มีอำนาจในการกำกับดูแลที่มีความเข้มแข็ง (Establishing a strong instiutional framework and the creation of a strong regulatory authoriy) และ การทำให้แน่ใจต่อความเท่าเทียมด้านเศรษฐกิจ และสังคม และการจับจ่ายใช้สอยของประชาชนในพื้นที่ (Ensuing soco-economic equity and buy-in from local population) | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Special Economic Zone | en_US |
dc.subject | Success | en_US |
dc.subject | Malaysia | en_US |
dc.title | A study of factor consideration that makes special economic zone of Malaysia success | en_US |
dc.title | การพิจารณาปัจจัยที่ทำให้เขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศมาเลเซียประสบความสำเร็จ | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพิจารณาปจจัยที่ทำใหเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศมาเลเซียประสบความสำเร็จ.pdf | 217.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.