Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1166
Title: | The Influence of Stevia (Stevia Rebaudiana) on Growth of Exacum affine Balf.f. ex Regel in Plant Tissue Culture อิทธิพลของหญ้าหวานต่อการเจริญเติบโตของม่วงเทพรัตน์ในสภาพปลอดเชื้อ |
Authors: | Ramangthong, Wanwisa Maikami, Mattanaporn วันวิสาข์ ระมั่งทอง มัทนภรณ์ ใหม่คามิ |
Keywords: | Exacum affine Balf.f. ex Regel Plant tissue culture Stevia (Stevia Rebaudiana) |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | พูนพิภพ เกษมทรัพย์. (2549). ชีววิทยา 2 :โครงการตำราวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. โครงการตำรา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน., กรุงเทพฯ. วทันยา ลิมปพยอม ณัฏฐา เลาหกุลจิตต์ และ อรพิน เกิดชูชื่น. (2555). การสกัดสารให้ความหวานชนิดไชรัปจากหญ้าหวาน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 43(2), 497-500. วุฒิชัย ฤทธิ บุญสนอง ช่วยแก้ว ณัฐวดี มาลัย และ รัตนาภรณ์ แย้มนิล. (2560). ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตพืชต่อ การขยายพันธุ์เอื้องทองในหลอดทดลอง. อุบล พุ่มจันทร์. (2556). อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีผลต่อการขยายพันธุ์ม่วงเทพรัตน์ ด้วยการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, (งานวิจัยปริญญาตรี) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี. เศรษฐมันตร กาญจนกุล. (2553). รอยพรรณพฤกษา พรรณไมสีมวง. กรุงเทพฯ : เศรษฐศิลป. Kachonpadungkitti, Y. and Jala, A. (2014). Influence of BA and NAA on inducing new shoots and roots in Bacopa monaneiri (L.) Pennel in vitro. Thai Journal of Science and Technology, 3(1), 9-14. https://doi.org/10.14456/tjst.2014.20. Jiropasphanuwong, Y., Ramasoot,S., Mahannop, K., Ninkrawat, T. (2015). Enhancement of Exacum offine Balf. tissue culture in vitro by using paclobutrazol. Wichcha Journal, 34(1), 53-60. Murashige, T. and F. Skoog. (1962). A revised medium for growth and bioassays with tobacco tissue. Physiologia Plantarum, 15, 473-497. Nevmerzhitskaya, Y.Y., Timofeeva, O.A., Mikhaylov, A.L., Strobykina, A.S., Strobykina, I.Y. and Mironov, V.F. (2013) Stevioside Increases the Resistance of Winter Wheat to Low Temperatures and Heavy Metals. Doklady Biological Sciences, 452(1), 287-290. Ritti, W., Chourykaew, B., Malai, N. and Yeamnin, R. (2017). Effect of Plant Growth Regulators on In Vitro Propagation of Dendrobium ellipsophyllum Tang & F.T.Wang. Burapha Science Journal, 22, 33- Sangnate, S., Wattanavijitkul, T. and Sangwatanaroj, S. (2011). Diuretic Effects of Roselle (Hibiscus Sabdariffa)-Stevia (Stevia Rebaudiana) Tea Compared with Hydrochlorothiazide in Diabetic Patients with Hypertension. Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, 6(4), 265-273. Sarai, N., Bodhipadma, K., Noichinda, S., Luangsriumporn, P. and Leung, D.W. (2017). Microshoot culture of Persian violet: Plant regeneration and in vitro flowering. Annals of Agricultural Sciences, 62(1), 105-111. |
Abstract: | Persian violet (Exacum affine Balf.f. ex Regel) is an auspicious plant that has been popularly grown
planting, therefore there is continuously needed. Tissue culture plays an important role in plant propagation
in a relatively short time period. The culture media preparing consists of various macronutrient micronutrient
and vitamins. Stevia (Stevia rebaudiana Bertoni) is widely substitutive sugar applied in food and beverage,
moreover, this plant leaves are possibly used to alternative some chemical and sugar in plant tissue culture
medium. After culturing Persian violet on various MS mediums for 4 weeks, the results showed the percentage
survival of the plantlets in all mediums was 100%. For the effect of stevia of the plant elongation, it (7.35+0.11)
was higher than shoot number, fresh weight and dry weight. When culturing the plant supplemented BA and
sugar without added vitamin, it demonstrated the highest shoot number (2.9+0.23) but only BA and stevia
(3.8+0.42) showed the same shoot number as the normal MS medium supplemented BA. Additionally,
the supplemented MS medium with NAA either stevia or sugar was not able to induce root in Persian violet. ม่วงเทพรัตน์ (Exacum ojine Balff. ex Regel เป็นไม้มงคลที่ได้รับความนิยมปลูกโดยทั่วไป จึงเป็นที่ต้องการ อย่างต่อเนื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีบทบาทสำคัญในการขยายพันธุ์พืชจำนวนมากในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งการเตรียมอาหาร เพาะเลี้ยงประกอบด้วยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง วิตามิน และน้ำตาล ซึ่งในปัจจุบันหญ้าหวาน (Stevia ebaludiana Bertoni) ถูกนำมาใช้ทดแทนน้ำตาลในอาหารและเครื่องดื่มอย่างกว้างขวาง และอาจจะนำใช้ทดแทนสารเคมีบางชนิด และน้ำตาลในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้ หลังจากเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนยอดม่วงเทพรัตนบนอาหาร MS สูตรต่าง ๆ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า ม่งเทพรัตน์ที่เลี้ยงบนอาหารทุกสูตรสามารถรอดชีวิตได้ 100 เปอร์เซ็นต์ สำหรับหญ้าหวาน ผลทำให้เกิดการยืดยาว (7.35:0.1 1) มากกว่าการเพิ่มปริมาณยอด้ น้ำหนักสด และน้ำหนักแห้ง เมื่อเติม BA ร่วมกับน้ำตาลที่ ไม่เติมวิตามินสามารถชักนำให้เกิดยอดได้มากที่สุด (4.6+0.22) แต่การเติม BA และหญ้าหวานแม้ว่าไม่มีวิตามิน (3.9+0.23) มีจำนวนยอดไม่ต่างจากสูตร MS ปกติที่เติม BA (3.8土0.13) ส่วนการใช้ NAA ไม่ว่าจะร่วมกับหญ้าหวานหรือน้ำตาล ก็ไม่สามารถชักนำให้ม่วงเทพรัตน์เกิดรากได้ |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1166 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
อิทธิพลของหญ้าหวานต่อการเจริญเติบโตของม่วงเทพรัตน์ในสภาพปลอดเชื้อ.pdf | 529.92 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.