Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNa Ayuttaya, Prapim Noppawong-
dc.contributor.authorVajarintarangoon, Kovit-
dc.contributor.authorThauyngam, Kitiwat-
dc.contributor.authorประพิม นภวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorโกวิท วัชรินทรางกูร-
dc.contributor.authorกิติวัชร ถ้วยงาม-
dc.date.accessioned2021-05-19T13:27:41Z-
dc.date.available2021-05-19T13:27:41Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationพรทิพย์ เอี่ยมมาลา. (2558). การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.-
dc.identifier.citationเพ่ง บัวหอม. (2550). แนวคิดใหม่ในการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.-
dc.identifier.citationวนิดา อินทรเกษตร. (2558). กรบริหารทรัพยากรมนุษย์ หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการศาลยุติธรรมระดับกลาง รุ่นที่ 12. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิทยบริการศาลยุติธรรมเฉลิมพระเกียรติ.-
dc.identifier.citationวนิดา เหล่นปก. (2560). การบริหารงานบุคคลของโรงเรียนวัดราษฎร์บำรุง ((สวราษฎร์อุปถัมภ์). วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationวรนารถ แสงมณี. (2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: เท็กซ์แอนด์เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด.-
dc.identifier.citationวาราดา ณ ลานคา. (2560) การบริหารงานบุคคลช่องผู้บริหารสถานศึกษา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.-
dc.identifier.citationประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2542). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). บุรีรัมย์: สถาบัน ราชภัฏบุรีรัมย์.-
dc.identifier.citationศตปพร มีสุขศรี และ คณะ. (2556). ปัญหาและผลกระทบในการบริหารงานบุคคลของเทศบาลเมืองควนลัง อำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.-
dc.identifier.citationCooper, W. A. (2001). Study of the merit reward for teacher programs in honor. Englewood cliff, New Jersey: New Hampshire & Harding Township-
dc.identifier.citationHenry, D. (2004). A profile on personnel administrators of public school system in the state of missouri, Dissertation Abstract International, 40 (4), 118.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1141-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study human resource management of principals under Buriram provincial office of the non-formal and informal education, and 2) to compare teachers’ perceptions of principals human resource management classified by work experiences and the schools’ sizes. The samples in this research were 205 teachers selected by simple random sampling. The instruments used to collect data were questionnaires. The reliability was 0.988. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, and analysis of variance (ANOVA). The research findings revealed that 1) the overall teachers’ perceptions of principals human resource management were at a high level. 2) the teachers’ perceptions of human resource management of principals classified by work experiences and schools’ sizes as a whole and each aspect was not different.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดบุรีรัมย์ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง เป็นครูจำนวน 205 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่า ความเชื่อมั่นท่ากับ .988 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาตาม ความคิดเห็นของครูโตยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา ตาม ความคิดเห็นของครู่ จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน และขนาดของสถานศึกษา โดยร่วมและรายด้านไม่แตกต่างกัน-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectPrincipalen_US
dc.subjectthe office of the non-formal and informal educationen_US
dc.subjectServant Human Resource Managementen_US
dc.titleThe Human Resource Management and Development Guidelines of Principals under Buriram Provicial Office of The Non – Formal and Informal Educationen_US
dc.titleสภาพการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดบุรีรัมย์-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.