Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChuenchomnoi, Charan-
dc.contributor.authorSrichailard, Panuwat-
dc.contributor.authorจรัญ ชื่นชมน้อย-
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ ศรีไชยเลิศ-
dc.date.accessioned2021-05-19T12:32:27Z-
dc.date.available2021-05-19T12:32:27Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกมล เวียสุวรรณ และนิตยา เวียสุวรรณ. (2539). แนวคิดการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและ แนวทางในการจัดตั้งศูนย์วิทย บริการด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา สำหรับสายงานด้านมัธยมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี.-
dc.identifier.citationกระทรวงศึกษาธิการ. (2545). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.-
dc.identifier.citationกระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.-
dc.identifier.citationทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationปฏิภาณ ภูสามารถ ลาวัณย์ ดุลยชาติ และสุรจักษ์ พิริยะเชิดชูชัย. (2562). “การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างบทเรียน กราฟิกด้วยเว็บ Piktochart ตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการ จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคราม. (386-392). มหาสารคราม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคราม. 5 มีนาคม 2562.-
dc.identifier.citationลักขณา สริวัฒน์. (2557). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.-
dc.identifier.citationสุมาลี ชัยเจริญ. (2548). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิมพ์ดี.-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2545). “ภาพอนาคต & กลยุทธ์” เราจะใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการ ปฏิรูปการเรียนรู้ในโรงเรียนได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: พริกหวาน.-
dc.identifier.citationวงษ์ปัญญา นวนแก้ว ชเนตตี พิมสวรรค์ และจรัญ เจิมแหล่. (2559). “การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยเอ็มเลิร์นนิ่ง วิชา กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2 ด้วยโปรแกรมประยุกต์ลักษณะฟอร์ม.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการ จัดการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคราม. (25-31). มหาสารคราม: มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคราม. 30-31 มีนาคม 2559.-
dc.identifier.citationLikert, Rensis A. (1961). New Patterns of Management. New York: McGraw-Hill Book Company Inc. 854-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1136-
dc.description.abstractThe purpose of this research were to 1) develop M - Learning lessons with Constructivism learnings on technology course. (Design and Technology) for Grade 10 of Bang Saphan Witthaya School. 2) Evaluate the effectiveness of the developed M-learning lesson. 3) Compare the student's achievement in learning with the developed M-learning lessons. 4) Study the students' satisfaction towards the developed. M- learning lessons. The samples use in the research were 30 ten grade. Students fromn Bangsa Witthaya School. Selected by using simple random sampling. Consisted of 1) M-learning lessons, 2) Learning Management Plan, 3) Learning Achievement Test, 4) questionnaire The results of the research revealed that 1) M-learning lessons with Constructivism learnings were the performance is at the high Level at (x= 4.46) 2) the effectiveness of the develop M-learning lesson was 85.5 / 80.17. 3) The achievement after using developed (x= 16.03, S.D.= 1.67) Higher than before learning (x= 13.23, S.D.= 1.87) at .05 level 4) Students' satisfaction toward using the developed M-learning lesson was at a high level (x= 4.45, S.D.= 0.61)en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียน M-Leaning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเองรายวิชา เทคนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางสะพานวิทยา 2) หาประสิทธิภาพ บทเรียน M-Leaming ที่พัฒนาขึ้น 3) เปรียบเหียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้บทเรียน M-L eaming ที่พัฒนาขึ้น 1 ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน M-l eaming ที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางสะพานวิทยา ได้มโดยการลุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1 บทเรียน M-Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบวัด ผลลัมฤทธิ์ทางการเรียน ) แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียน M-L earing ร่วมกับรูปแบบการสร้าง ความรู้ด้วยตนเองที่พัฒนาขึ้น มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมาก (X 4.46) 2) ประสิทธิภาพของบทเรียน M- Leamning ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพที่ 85.5/80.1 7 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียน (G= 16.03, S.D.= 1.67) สูงกว่าก่อนเรียน (&- 13.23, S.D.- 1.87) อย่างมีนัยสำคัญอยู่ที่ .05 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียน M- Learning ที่พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับมาก &- 4.45, S.D.- 0.61)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectConstructivism learningsen_US
dc.subjectM–learningen_US
dc.subjectDesign and Technologyen_US
dc.titleThe development of M-Learning lessons with Constructivism learnings on technology course (Design and Technology) for Grade 10 students of Bangsaphan Wittaya Schoolen_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียน M–Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเองรายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางสะพานวิทยา-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.