Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1127
Title: The development of hydroponic vegetable packaging in Nakhon Pathom province
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผักไฮโดรโปนิกส์ในจังหวัดนครปฐม
Authors: Thongprasom, Somjai
Plongthong, Sunantha
Koprasert, Kanokpatch
สมใจ ทองประสม
สุนันทา ปล้องทอง
กนกพัชร กอประเสริฐ
Keywords: packaging development
hydroponic vegetables
Creating added value
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เปรมกมล หงษ์ยนต์) .27 เมษายน 2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า. เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/ADMIN/Downloads/223119-Article%20Text-727895-1-10-20191027.pdf
กรรณิการ์ สายเทพ) .25 มิถุนายน 2558). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อการส่งออกของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดอกไม้ ประดิษฐ์. เข้าถึงได้จาก http://www.mgts.lpru.ac.th/journal/index.php/mgts/article/view/444
จิตพนธ์ ชุมเกต) .10 มีนาคม 2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการจัดการชุมชน อย่างยั่งยืนของชุมชนไทยมุสลิม อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี. เข้าถึงได้จาก http://www.mis.ms.su.ac.th/
จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง) .2 กรกฎาคม 2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติกลุ่มศิลปะประดิษฐ์โอทอป )OTOP). เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/User/Downloads
ณธกร อุไรรัตน์) .17 มกราคม 2560). การออกแบบบรรจุภณั ฑส์ ำหรับข้าวเจ๊กเชย เสาไห้ จ.สระบุรี. เข้าถึงได้จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78643
ณธกรณ์ อุไรรัตน์) .1 กรกฎาคม 2559). การศึกษาเพอื่ การออกแบบบรรณจุภณั ฑ์ข้าวเจก๊ เสาไห้ จ.สระบุรี. เขา้ ถึงได้จาก https://www.dpu.ac.th/dpurc/assets/
ดุษฎี พรหมทัต) .3 พฤศจิกายน 2558). พฤติกรรมการผลิตผักปลอดภัยของเกษตรกรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา . เข้าถึงได้ จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/jtir/article/view/54711
ดุสิต อธินุวัฒน์) .19 ธันวาคม 2562). การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคและทัศนคติของผู้บริโภคสินค้าอินทรีย์. เข้าถึงได้จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php
นายเมธา โล่กันภัย) .19 พฤศจิกายน 2559). ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการผลิตผักในระบบไฮโดรโปนิกส์. เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/User/Downloads/pornwalai.pras.pdf
ประสพชัย พสุนนท์) .28 สิงหาคม 2561). ศึกษาเรื่องการวิเคราะห์ปัจจัยและจัดกลุ่มการเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษของ ผู้บริโภคจังหวัดนครปฐม . เข้าถึงได้จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php
ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป) .2 สิงหาคม 2562). การบริโภคสินค้าและอาหารอินทรีย์ของประชาชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ . เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/User/Downloads/170878-Article%20Text-669101-1-10- 20190827.pdf
Abstract: The objective of this research is to be a guideline in the development of packaging forvegetables and fruits in Nakhon Pathom province. Research format Qualitative research for use in packaging design for research The research was conducted at Suan Rai Farm, Suk Farm, Thap Luang Subdistrict, Mueang District, Nakhon Pathom Province. Dr. Chonpong Arpornphaisan, the research instrument was used in depth interview and participatory observation to select a specific sample of 1 garden with hydroponic vegetables growing in the province. Data were analyzed using content analysis and descriptive writing. The results of the research showed that Entrepreneurs choose the 2nd prototype packaging because they have strange characteristics. Have creative ideas Can also demonstrate the product well Also, this type 2 packaging can make a big difference. Can increase product value Can be a souvenir because it looks beautiful the side of the paper box is easily biodegradable, environmental friendly
วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับผักไฮโดรโปนิกส์ในจังหวัดนครปฐม รูปแบบการ วิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แนวคิดการสร้างมูลค่าเพิ่มและทฤษฎีเกี่ยวกับการออกแบบสำหรับ บรรจุภัณฑ์ เป็นกรอบ การวิจัย พื้นที่ดำเนินการวิจัยคือ สวนบ้านไร่สวนฟาร์มสุข ตำบลทัพหลวง อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่าง เจ้าของ ฟาร์มสวนบ้านไร่ฟาร์มสุข ดร.ชนพงษ์ อาภรณ์พิศาล เครื่องมือการวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 1 สวนที่มีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ในจังหวัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิเคราะห์ เนื้อหาและเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการเลือกบรรจุภัณฑ์ต้นแบบที่ 2 เพราะมีลักษณะที่แปลกตา มีความคิดสร้างสรรค สามารถแสดงถึงตัวสินค้าได้ดีอีกด้วย อีกทั้งบรรจุภัณฑ์แบบที่ 2 นี้สามารถสร้างความแตกต่างชัดเจน เพิ่มมูลค่าสินค้าได้ สามารถเป็นของฝากได้เพราะดูสวยงาม ด้านกล่องกระดาษสามารถย่อยสลายได้ง่ายเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1127
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.