Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1100
Title: Development model Management of local community museums, Ban Pong Takhop archaeological site for lifelong learning Saraburi Province
รูปแบบการพัฒนา การจัดการพิพิธภัณฑสถานชุมชนท้องถิ่นแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จังหวัดสระบุรี
Authors: Kaewprasit, Nitipat
นิติพัฒน์ แก้วประสิทธิ์
Keywords: Community Museums
Archaeological Sites
Lifelong Learning
Saraburi Province
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
กระบวนการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและธรรมชาติ / สุมน อมรวิวัฒน์. พิมพลักษณ์, กรุงเทพฯ : สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2544.
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ ฟื้นพลังความหลากหลายทงวัฒนธรรม ในสังคมสยาม (หนังสือชุดพอเพียงแผ่นดินเกิด) พิมพ์ โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ กรุงเทพ, 2556.
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. พิพิธภัณฑ์ของคนธรรมดา. หนังสือชุดพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์, 2551.
ศรีศักร วัลลิโภดม พิพิธภัณฑ์และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น: กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน จัดพิมพ์โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะ พันธุ์ กรุงเทพฯ, 2551.
สุรพล นาถะพินธุ รายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติงานโครงกรวิจัย เรื่องระวัติวัฒนธรรมยุคก่อน ประวัติศาสตร์ที่แหล่งโบราณคดีโรงเรียนบ้านโป่งตะขบ ตำบลวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี, 2552.
สุรพล นาถะพินธุ. รากเหง้าบรพชนคนไทย : พัฒาการทางวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2550.
Abstract: This study Objective 1. To study the situation and analyze the potential of Ban Pong Takhop archaeological site, Wang Muang District, Saraburi Province In the development and management of local community museums. 2. To create a development model Management of local community museums, Ban Pong Takhop archaeological site for lifelong learning Saraburi Province The results showed that 1. Archaeological sites in Ban Pong Takhop have continuously developed knowledge of archaeological sites. With the introduction of new knowledge gained from studies, excavations and research with the potential of this archaeological site, there is significant archaeological evidence that has not been found anywhere in Thailand. Including excavation of coffins made of clay, which was in the prehistoric period for 3,500 years, but still lacking continuity in the development of archaeological knowledge Cultural history obtained from excavations discovered in a new excavation hole The local community has established a committee for managing community museums. Which is the people who are trusted by the community and the villagers Another problem is the lack of funds for the maintenance of museums. Including the development of public utilities and facilities 2. Development model Management of local community museums, Ban Pong Takhop archaeological site for lifelong learning Saraburi Should be carried out in the form of an archaeological excavation exhibit Along with the exhibition about artifacts discovered in a safe building. Exhibitions that are related and able to integrate with the learning network in the Pa Sak Basin include Archaeological Ban Pong Manao Arch Champa archaeological site In addition, the development of media forms should be developed necessary and consistent information media and information technology covering the subject matter As well as visitors or tourists in all groups, organizing various and appropriate learning activities that promote lifelong learning
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพกรณ์และวิเคราะห์ศักยภาพของแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบ อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี ในกรพัฒนาและจัดการพิพิธภัณฑสถานชุมชนท้องถิ่น 2. เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนา การ จัดการพิพิธภัณฑสถานชุมชนท้องถิ่นแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จังหวัดสระบุรี ผลการศึกษา พบว่า 1. แหล่งโบราณคดีบ้านโปงตะขบมีการพัฒนาองค์ความรู้ของแหล่งโบราณดีอย่างต่อเนื่อง มีการนำองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่ได้จากการศึกษา ชุดคัน วิจัย ด้วยศักยภาพแหล่งโบราณคดีแห่งนี้ปรากฎหลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญที่ยังไม่เคยพบที่ ไหนในประเทศไทย ได้แก่ การขุดคันพบโลงศพที่ทำจากดินเหนียวซึ่งอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ 3,500 ปีมาแล้ว แต่ยังขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาชุดความรู้ทางด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่ได้จากการขุดค้นพบในหลุมขุด ค้นใหม่ โดยชุมชนท้องถิ่นได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการพิพิธภัณฑสถานชุมชนขึ้น ซึ่งเป็นคนในที่ได้รับความไว้วางใจ จากชุมชนและซาวบ้าน ปัญหาอีกต้านหนึ่ง คือ การขาดแคลนงบประมาณในต้านการทำนุบำรุงพิพิธภัณฑสถาน รวมถึงการ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการต่างๆ 2. รูปแบบการพัฒนา การจัดการพิพิธภัณฑสถานชุมชนท้องถิ่นแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบเพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิต จังหวัดสระบุรี ควรดำเนินการในรูปแบบของการจัดแสดงหลุมชุดคันทางโบราณคดี ควบคู่ไปกับการจัดแสดงนิทรรศการ เกี่ยวกับโบราณวัตถุที่คันพบในอาคารที่มีความปลอดภัย การจัดแสดงนิทรรศการที่เกี่ยวช้องและสามารถบูรณาการเชื่อมโยง กับแหล่งเรียนรู้เครือข่ายที่อยู่ในลุ่มน้ำสัก ได้แก่ แหล่งโบราณดีบ้านโปงมะนาว แหล่งโบราณคดีขับจำปา นอกจากนี้ควร การพัฒนารูปแบบของสื่อจัดแสดง สื่อสารสนทศและเทคโนโลยีสารสนเทศที่จำป็นและสอดคล้องครอบคลุมกับเนื้อหาสาระ เรื่องราว ตลอดจนผู้เข้าชม หรือ นักท่องเที่ยวทุกกลุ่มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เหมาะสม และหลากหลายที่ส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1100
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.