Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1093
Title: The Relationship between Government Expenditure and Poverty The Study of Thailand Malaysia and Philippines
ความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายภาครัฐและความยากจน กรณีศึกษา ประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์
Authors: Khamenkhetkan, Nisarat
Chanagul, Chittawan
นิศารัตน์ เขม้นเขตการ
ชิดตะวัน ชนะกุล
Keywords: Malaysia
Philippines
poverty
government expenditure
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงต่งประเทศ. (2556). ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน. ค้นเมื่อ ตุลาคม 2562. จาก www.mfa.go.th/ asean/th/home.
ชิดตะวัน ชนะกุล. (2559). เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: บริษัท แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
ชิดตะวัน ชนะกุล. (2562). ทฤษฎีและนโยบายการคลัง. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุญธรรม ราชรักษ์. (2548). การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิซาเศรษฐศาสตร์การคลัง มหาวิทยาลัยรามคำแหง. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. (ม.ป.ป.). การวัดความยากจนและเครื่องชี้ วัด. ค้นเมื่อ ตุลาคม 2562. จาก www.stou.ac.th Study/Services/Sec/60335/03-04.html.
Bright, J. N. (2016). Modelling Government Expenditure - Poverty Nexus for Ghana. Retrived September, 2019, from www.mpra.ub.uni-muenchen.de/75727/1/MPRA_paper_paper_75727.pdf.
Hussian, F., Hussian, S. and Erum, N. (2015). Are Defense Expenditure Pro poor or Anti Poor in Pakistan? An Empirical Investigation. The Pakistan Development Review, 54 (4): 875-892.
Mehmood, R. and Sadiq, S. (2010). The relationship between government expenditure and poverty: A cointegration analysis. Romanian Journal of Fiscal Policy, 1(1): 29-37.
Sasana, H. and Kusuma, P. (2018). Government expenditure and Poverty in Indonesia. KnE Social Sciences: 142-153.
Abstract: This research aims to study the relationship between government expenditure and the poverty of Thailand, Malaysia, and Philippines. Besides, this research has used the panel data. The analysis method used for analysis are 1) Panel unit root testing 2) Long-term equilibrium relations testing 4) Short-term equilibrium relations testing and 4) Granger causality test. The research found that data of all variables in model 1 and 2 are stationary at the level of 1st Differential. Then, the results are tested to find long-term and short-term equilibrium relationships. The test found that models 1 and 2 have a balanced equilibrium both in the long-term and short-term. With the test of Granger causality test, Model 1: Secondary school enrollment causes poverty and Model 2: the expenditure on public health and secondary school enrollment causThailandes poverty.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายภาครัฐบาลและความยากจนของประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลพาแนล ซึ่งมีวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1) ทดสอบพาแนลยูนิทรูท 2) ทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว 3) ทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะ สั้น และ 4) ทดสอบความเป็น เหตุเป็นผล จากผลการทดสอบพบว่า ข้อมูลของทุกตัวแปรในแบบจำลองที่ 1 และ 2 มีลักษณะนิ่งที่ระดับ 1" Differential จากนั้นจึงนำผลดังกล่าวไปทดสอบหาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวและในระยะสั้น พบว่า แบบจำลองที่ 1 และ 2 มีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพทั้งในระยะยาวและระยะสั้น ต่อมาจึงได้ทดสอบความเป็นเหตุเป็นผล พบว่า แบบจำลองที่ 1 การลงทะเบียนเรียนระดับมัธยมศึกษาเป็นสาเหตุของความยากจน และแบบจำลองที่ 2 รายจ่ายภาครัฐด้านสาธารณสุข และการลงทะเบียนเรียนระดับมัธยมศึกษาเป็นสาเหตุของความยากจน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1093
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ยากจน.pdf221.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.