Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1081
Title: Dvaravati culture
กลุ่มวัฒนธรรมทวารวดี
Authors: Naulhom, Vanlee
Khongchatri, khompetch
Suangamaiam, Tassanee
Sumoonwech, Pronsuda
วัลลี นวลหอม
คมเพชร คงชาตรี
ทัศนีย์ เสืองามเอี่ยม
พรสุดา สุมูลเวช
Keywords: clue
Dvaravati
Culture
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมศิลปากร.(2504).โบราณวัตถุสถานสมัยทวารวดี.กรุงเทพฯ:ศรีปัญญา.
กรมศิลปากร.(2506),โบราณวัตถุสมัยทวารวดีแห่งใหม่.กรุงเทพฯ.ศรีปัญญา.
พรรณิกา เวลเดส.(2556).อาณาจักรทวารวดี.กระบี่.พีเคปริ้นส์.
ศักดิชัย สายสิงห์.(2554).ศิลปะทวารวดี.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.
ศักดิชัย สายสิงห์.(2558).ศิลปะพม่า.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.
ศราวุธ คาศี (2556),ทวารวดี.กรุงเทพฯ:สมฤดีการพิมพ์.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (2558),ศิลปทวารวดี.กรุงเทพฯสาระดี.
ธิดา สาระยา.(2545). ทวารวดี:ต้นประวัติศาสตร์ไทย.กรุงเทพ.หทัยรัตน์การพิมพ์.
Abstract: This academic paper focuses on the importance of traces of Dvaravati culture. By studying art, artjfacts, and inscriptions, the Dvaravati society was originally a city of various sizes, which grew from the family society. And the village society to become a city society with small communities surrounded by the head of government There are social class divisions. There is also a use of religion as a tool for goveming. Relationship between city to city or state to state. Not a political relationship, but by trade, religion, and cultural similarity. The economy of the Dvaravati community is based on agriculture. There is trade between cities. Or trade and exchange with people outside the community. The Dvaravati community started Buddhism. Theravada In parallel with Brahminism or Hinduism Both the Shivaism And Vaishnavism By Brahmanism Or Hinduism is prevalent among the ruling classes in the latter, when the Khmer entered the city, economy, society and culture, Dvaravati was dominated by the Khmer. And in the end, the beliefs changed
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาความสำคัญของร่องรอยวัฒนธรรมทวารวดี โดยศึกษาจากศิลปะโบราณวัตถุสถานและ จารึกต่าง ๆ สภาพสังคมทวารวดีนั้นแต่เดิมคงเป็นเมืองขนาดต่าง ๆ ซึ่งพัฒนาขยายตัวจ กสังคมครอบครัว และสังคมหมู่บ้าน มาเป็นสังคมเมืองที่มีชุมชนเล็ก ๆ ล้อมรอบมีหัวหน้าปกครอง มีการแบ่งชนชั้นทางสังคม นอกจากนี้ยังมีการใช้ศาสน่าเป็น เครื่องมือในการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองต่อเมืองหรือรัฐต่อรัฐ ไม่ใช่ความสัมพันธ์โดยการเมือง แต่โดยก ารค้า ศาสนา และความเหมือนกันทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจของชุมชนทวารวดีคงจะมีพื้นฐานทางการเกษตรกรรม มีการค้าขาย แลกเปลี่ยนระหว่างเมือง หรือการค้าขายแลกเปลี่ยนกับชุนชนภายนอก ชุมชนทวารวดีเริ่มต้นแนวความเชื่อแบบพุทธศาสนา ในนิก ายเถรวาท ควบคู่ไปกับการนับถือศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ทั้งนิกายไศวนิกาย และนิกายไวษณพนิก าย โดยศาสนา พราหมณ์ รือศาสนาฮินดูจะแพร่หลายในหมู่ชนชั้นปกครอง ในระยะหลังเมื่อเขมรเข้าสู่สมัยเมืองนคร เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรมหวารวดีก็ถูกครอบงำโดยเขมร และในตอนท้ายคติความเชื่อได้เปลี่ยนแปลงไป
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1081
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
กลุ่มวัฒนธรรมทวารวดี.pdf130.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.