Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1079
Title: Good Governance Implementation of School Administrators. According to the teacher’s Perceptions who teach in Benchasiri Group under The Secondary Educational Service Area Office 2
การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูโรงเรียนใน กลุ่มสหวิทยาเขตเบญจสิริ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2
Authors: Klomklorm, Kamol
Tharasrisutti, Pavida
กมล กลมกล่อม
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: Good Governance
the School Administrators
teachers’ perceptions
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 (2562, 9, เมษายน).ประกาศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 เรื่อง เจตจำนงสุจริตในการบริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 มุ่งสู่การเป็นองค์กร ธรรมาภิบาลและ ความโปร่งใส.
ราชกิจจานุเบกษา. (2542).ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พุทธศักราช 2542. เล่มที่116 ตอนที่ 63 ง.
จิรศักดิ์ สุภารส. (2559). การศึกษาการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
จุฑามาส นาคปฐม. (2559). การบริหารการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร โรงเรียนเทศบาลอินทปัญญา วัดใหญ่ อินทาราม เทศบาลเมืองชลบุรี. งานนิพนธ์ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิไลรัตน์ ฝ่ายดี. (2559). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนขนาด กลางในอำเภอตาพระยา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2. งานนิพนธ์ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สาลี่ ประทุมวงศ์. (2560). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน มัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อาทิตยา สุขศรี. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลการบริหารของผู้บริหาร โรงเรียนธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต4. งานนิพนธ์ หลักสูตร การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อำนาจ เผือกบริสุทธิ์. (2560). หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนบางเสาธง สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. งานนิพนธ์ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรรถพงค์ รักมิตร. (2560). ความพึงพอใจของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการใช้หลักธรรมาภิบาลบริหาร สถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนกลุ่มไชยราช-ช้างแรก อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. งานนิพนธ์ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K. (2011). Research methods in education (7th ed.). New York : Routledge.
Abstract: The purposes of this research are to study and to compare the implementation of Good Governance of School Administrators, according to the teachers who are teaching in Benchasiri Group under the Secondary Educational Service Area Office 2’s perceptions. The targeted schools are divided according to their sizes. The Simple Random Sampling method is applied into the selection of 176 Representative Samples in the research. Through a specifically designed questionnaire device. Data is collected to obtain Arithmetic Mean ( ), Standard Deviation (SD), T-Test, and One Way Anova. The analyzed data shows that;The Teacher’s Perceptions towards the Good Governance Implementation of the School Administrators is at Good Level (4th Level). The followings are the Good Governance Implementation of School Administrators, according to the Teachers Teaching in Benchasiri Group under the Secondary Educational Service Area Office 2’s Perceptions Comparison Analysis;Despite different education background and degrees, the teachers have quite similar perceptions towards the Good Governance Implement and Teachers with different education background and degrees have quite similar perceptions towards the Good Governance Implementation.
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา ตาม การรับรู้ของครู โรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำแนกตามระดับ การศึกษาและขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครู จำนวน 176 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t - test และวิเคราะห์ ความแปรปรวนทาง เดียว One way Anova ผลการวิจัยพบว่า ครูมีการรับรู้ต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและ รายด้าน อยู่ในระดับมาก การเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครู จำแนกตาม ระดับการศึกษาและขนาดของสถานศึกษา พบว่า ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ต่อการใช้หลักธรรมาภิบาลของ ผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกันมีการรับรู้ต่อ การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1079
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.