Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1071
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Boonchuay, Sunhakrisana | - |
dc.contributor.author | Juljantarangsee, Jutamas | - |
dc.contributor.author | จริยา ขุนทองทิพย์ | - |
dc.contributor.author | ชนมณี ศิลานุกิจ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T03:40:21Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T03:40:21Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | กรรณิการ์ บุญช่วย. (2561). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัด ตราด จันทบุรี และระยอง. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). จันทบุรีมหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี. | - |
dc.identifier.citation | จิราพร สามัญ. (2558) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.(การบริหารการศึกษา). ชลบุรี:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. | - |
dc.identifier.citation | ณัฐพงษ์ มูฮำหมัด. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูผู้สอน โรงเรียนประถมศีกษา ในเขตอำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา. การศึกษาค้นคว้าบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. | - |
dc.identifier.citation | บัณฑิต กิมศรี. (2559). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในอำเภอท่ใหม่ จังหวัดจันทบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.(การบริหารการศึกษา). ชลบุรี:บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. | - |
dc.identifier.citation | ปัญญาวุฒิ ธนาวุฒิ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงนเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. | - |
dc.identifier.citation | รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2551). พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร. (2562). ฝ่ายการศึกษา. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2562. จาก http://www.bangkok.go.th/talingchan/page/sub/6501 | - |
dc.identifier.citation | สุภาพร ภูสมที่. (2559). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี. | - |
dc.identifier.citation | สุธาสินี สิงห์ประโคน. (2558) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1071 | - |
dc.description.abstract | Physical injuries are symptoms that are visible from the outside, while mental illness is deeply hidden under the body and behaviours that are difficult to comprehend and notice. “Depression” is symptom of one type of mental illnesses, which is difficult to observe and has caused tragic loss to various families, deriving from the environment of the current society, where relations or connection of the people in the society have weakened, as progress of the society pressures most of the human beings to expedite seeking for prosperity and wealthiness, with properties, money, gold and other material objects, just for a small amount of happiness and without sustainability. This results in mental weakness, and that is why some people with vulnerable morality may commit crimes to others in the society. However, in some groups with mental weakness, they are unable to stand strong or stay by themselves. They might flee from the problem by the mean of “self-destruction,” which has considerably appeared in the society nowadays. Therefore, understanding depression is what should be paid attention to by the society. And empathy will then be able to reduce criminal problems that could multiply their intensity in the future. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ตาม ความคิดเห็นของครูในโรงเรียนสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามขนาดของโรงเรียน และ ประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู จำนวน 151 คน ใช้วิธีการลุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.80 - 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีของเซฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนสำนักงานเขตตลิ่ง ชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร โตยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก การเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของโรงเรียนและประสบการณ์ในการทำงาน ปรากฏว่า ครูที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนที่ มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่นไม่แตกต่างกัน | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | suicide | en_US |
dc.subject | juvenile and youth | en_US |
dc.subject | depression | en_US |
dc.title | Depression and suicide of Thai juvenile and youth | en_US |
dc.title | ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู ในโรงเรียนสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร | - |
dc.title | ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู ในโรงเรียนสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ภาวะซึมเศร้ากับการฆ่าตัวตายของเด็กและเยาวชนไทย.pdf | 220.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.