Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1063
Title: nviting Leadership Behavior of School Administrators under The Secondary Educational Service Area Office 32
พฤติกรรมความเป็นผู้นำแบบเชิญชวนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
Authors: Pudgong, Warintorn
Wannit, Pratoun
Bunkanan, Phaophongphat
วรินทร ปัดกอง
ประทวน วันนิจ
เผ่าพงษ์พัฒน์ บุญกะนันท์
Keywords: Behavior inviting leadership
Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กิตติชัย ตระกูลกิตติ. (2561). การพัฒนาความเป็นผู้นำแบบเชิญชวนและการมีส่วนร่วมของบุคลากรโดยการใช้นวัตกรรม การจัดการศึกษาแบบเชิญชวนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
ชอฟี ราเซะ (2560). ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนในอำเภอทุ่งยางแดงสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปัตตานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา.
เทวัน ทิพย์กระโทก. (2555. พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารที่พึงประสงค์ตามทัศนะของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 1. วิทยานินธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นิรมล ศตวุฒิ. (2551). แนวคิดการจัดการศึกษาแบบเชิญชวน : นวัตกรรมทงการศึกษา. กรุงเทพฯ : มิตรภาพการพิมพ์ และสตูดีโอ.
ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2555). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. บุรีรัมย์ : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏ
มาธวรรย์ อิงแอบ (2556). พฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
รังสรรค์ แสงสุข และคณะ (2561).ประสิทธิผลของการนำแนวคิดการจัดการศึกษาแบบเชิญชวนสู่การปฏิบัติในโรงเรียน (The Effectiveness of the Invitational Concept Implemented in Schools). วารสารวิชาการ 5.(1) :7-8.
สราวุฒิ ศักดี. (2557). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย บูรพา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. (2561). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. กระทรวงศึกษาธิการ. Asbill and Kate Null. (1994). Invitational Leadership : Teacher perceptions of inviting principal practice. Master Thesis. Dissertation and theses.
Abstract: The purposes of this research were to study teachers’ opinion toward inviting leadership behavior of school administrators under Secondary Educational Service Area Office 32 and compare teachers’ opinion toward inviting leadership behavior of school administrators under Secondary Educational Service Area Office 32 distinguish by Educational qualifications, working experience and school size. The samples consisted of 343 teachers. The wacaroh instrument study was a questionnaire with reliability value of .97. The data were analyzed by using percentage, mean and standard deviation. The hypotheses were tested by using t-test and one-way ANOVA analysis of variance and multiple comparison test (Scheffe’s Method). The research results revealed that : 1) the opinion of teacher toward inviting leadership behavior of school administrators, according to the opinion of teachers, in overall, was at a high level. 2) The comparison of inviting leadership behavior according to the opinion of teachers classified by Educational qualifications and the experience in overall was not found statically significant. The school size, in overall and each aspect was found statically significant differences at the .01 leve
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำแบบเชิญชวนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมความเป็นผู้นำแบบเชิญชวนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จำแนกตาม คุณวุฒิ ประสบการณ์การทำงาน และขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูจำนวน 343 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าที่ และ การวิคราะห์ความแปรปรวนแบบทงเดียว เมื่อพบความแตกต่างจะเปรียบเทียบเป็นรายคู่ ใช้วิธีการของเซฟเฟ ผลการวิจัย พบว่า 1) พฤติกรรมความเป็นผู้นำแบบเชิญชวนของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูโตยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบพฤติกรรมความเป็นผู้นำแบบเชิญชวนของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู จำแนกตาม วุฒิ การศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดยรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1063
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.