Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1062
Title: Effects of basic life support training program on knowledge and practice regarding basic life support among older people at the Elderly Schools, Maekha Sub-district Phayao Province
ผลของโปรแกรมฝึกอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานต่อความรู้และการปฏิบัติ การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของกลุ่มผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลแม่กา จังหวัดพะเยา
Authors: Srisookkum, Taweewun
Thaitawad, Kittiya
Katkhaw, Orathai
Tangnithipong, Sunanta
Nabheerong, Pennipat
Nantatong, Natthinee
ทวีวรรณ ศรีสุขคำ
กิตติยา ไทยธวัช
อรทัย เกตุขาว
สุนันทา ตั้งนิติพงศ์
เพ็ญนิภัท นภีรงค์
ณัฏฐินี นันทาทอง
Keywords: older people
the elderly school
basic life support
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรรณิกา เรือนจันทร์ , เกชัย กันธะวงศ์ และ ชยธิดา ไชยวงษ์. การพัฒนาหลักสูตรการอบรมเรื่อง "การปฐมพยาบาลผู้ป่วย ฉุกเฉิน" สำหรับชุมชนดอนแก้ว อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่. วารสารเครื่อข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุข ภาคใต้, 2563: 7(1), 184-193.
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.(2554). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. คันเมื่อ 01 มิถุนายน 2563 จาก http:// dop.go.th/download/laws/law th 20152309144546 1.pdf
จามรี พระสุนิต. การส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ ชุมชนดงมะดะ จังหวัดเชียงราย. วารสารการวิจัยเชิง พื้นที่, 2561: 10(4), 270-279.
นิกร จันทภิลมและฐิติภา ตั้งวานิช. ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถะนเองต่อความสามารถในการให้บริการฉุกณฉินของ อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์. วารสารพยาบาลและสุขภาพ, 2561: 12(1). 24-34.
ปราโมทย์ ปราทพรกุลและคณะ. (2561). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2560. นคปฐม: สถาบันวิจัยประชกร และสังคม, มหาวิทยาลัยมหิตล. ป
ริญญา คุณาวุฒิ, นลินาสน์ ขุนคล้ายและบวร วิทยชำนาญกุล(บรรณาธิการ). สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี ค.ศ. 2015. กรุงเทพ: บจก.ปัญญามิตร การพิมพ์.
ประยงค์ จันทร์แดง. การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธ กรณีศึกษาโรงเรียนผู้สูงอายุในวัดเขตตตำบลแม่กา อ.เมือง จ.พะเยา.
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2561: 26(52), 28-48. ประกาย จีโรจน์กุล. (2556). แนวคิดทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพและการนำมาใช้. นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชากการ สถาบันบรมราชชนก.
พระครูโสภณพุทธิศาสตร์, พระปลัดบุญเจิ สุจิตโต, พระปลัดบุญเจิด สุจิตโต, พระเทิดศักดิ์ สตตินฺธโร, นพดล ดีไทยสงค์ และ เกษม แสงนนท์. โรงเรียนผู้สูงอายุการจัดการสุขภาวะและสวัสดิการผู้สูงอายุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสาร
มหาจุฬานาคทรรศน์, 2562: 6(2), 960-972.ยุพิน หมื่นทิพย์, มนันชยา จิตรัตน์ และปิยพร พรหมแก้ว. เส้นทางและผลการพัฒนาหลักสูตรสู่โรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช. วารสารมหาจฬุานาครทรรศน์, 2565: 6(9), 4184-4198. พิมพ์รดา ศิริจิตต์ธงชัย. การพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่กรมควบคุมโรคกับการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการ ใช้เครื่องกระตุกหัวใจด้วยฟฟ้าอัตโนมัติ. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 2561: 7(2). 35-41.
เพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง และชัจคณค์ แพรขาว. ผลของโปรแกรมการสอนการช่วยเหลือขั้นพื้นฐานภาวะหัวใจหยุดเต้น ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารพยาบาลกระทรวง สาธารณสุข, 2561: 28(2), 118-131.
รัชยากร ลิ่มอภิชาต, อักษร ลนิติพร, อัจฉริยาพร พลรัตน์และปรนุช ชัยซูสอน. การคงอยู่ของความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ ภายหลังการเรียนรู้แบบทีมของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ . วิสัญญีสาร, 2563: 46(3), 133-140.
ลดาวรรณ อุบล, ทัศนี ประสบกิตติคุณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทร์นิตย์ และซดชนก วิจารสรณ์. การสอนช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานด้วยวีดี ทัศน์สำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น. J NURS SCI, 2559: 34(3) 66-78.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2562). แผนหลักการแพทย์ฉุกเฉินฉบับที่ 3.1 พ.ศ. 2562-2565. กรุงเทพ: บริษัทอัลทิ เมทพริ้นติ้ง. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2559). คู่มืออาสาสมัครฉุกเฉิน. นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน.
Best J.W. (1977). Research in education. New Jersey: Prentical-Hall Inc.
Cave DM., Aufderheide, TP., Beeson, J., Elison, A., Gregory, A., Hazinski, MF. & et. al. Importance and Implementation of Training in Cardiopulmonary Resuscitation and Automated External
Defibrillation in Schools. Circulation, 2011 : 123(6), 691-706.
Cohen J. (1988). Statistical power analysis for behavioral sciences. New Jersey: Hillsdale. Naset, A., Birkes., TS., Furunes, T., Myklebust, H., Mykletun, RJ. & Odegaard, S. A randomized trial on elderly laypersons's CPR performance in realistic cardiac arrest simulation. Acta Aneaesthesiol Scan, 2012: 56, 124-135.
Roy, R., Ravidra, HN, & Jain, PK. Impact of health awareness programme on knowledge and practice regarding revised protocol of delivering cardiopulmonary resuscitation(CPR) among nursing students. International Journal of Nursing Education, 2015: 7(2). 44-48.
World Health Organization. (2019) Emergency care and trauma care. [March 13, 2020] Retrieved from: https://w who int/emereencycare/en/
World Health Organization. (2010). Global status report on non-communicable diseases 2010. Geneva: World Health Organization.
World Health Organization. (2012). Health education: theoretical concepts, effective strategies and core competencies: a foundation document to guide capacity development of health educators. Geneva: World Health Oreanization.
Abstract: The aging society lead to the Buddhist Monasteries established the elderly schools. The health care activities are the best way for aging people in the elderly schools. This research design was the one group pretest-posttest design aimed to compare mean score and evaluate the practice of basic life support(BLS) among older people at the Elderly Schools, Phayao Province. Sample were twenty-six aging people at the elderly school in Makha Subdistrict, selected by purposive sampling as inclusion criteria. Instruments were 1) the test for pretest and post-test 2) the practical check-list and 3) Four hours of basic life support program which consisted of; 50 mintiues s of lectures, self-learning from pamphlets; 3 hours of demonstration and practicing regarding BLS. Data were analyzed by descriptive statistics and paired t-test. The study showed that after finished program, the knowledge mean score of BLS reveled statistically significant increase at p-value < 0.000 from 9.34. Besides, this study revealed that after intervention all samples practiced basic BLS. This study should be taken this program to apply using for the another area which were similar as this study.
การเกิดขึ้นของสังคมผู้สูงอายุทำให้วัดทางศาสนาต้องปรับเปลี่ยนบทบาทในการเป็นผู้จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ การ จัดกิจกรรมด้านสุขภาพถูกเฉินให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็น การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผล ก่อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคะแนนความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและประเบินทักษะการปฏิบัติการ ช่วยฟื้นคืนซีพของกลุ่มผู้สูงอายุ จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลแม่กาจำนวน 26 คน ได้มา จากการสุ่มตัวอย่างแบบจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบทดสอบก่อนและหลังการเข้า ร่วมกิจกรรม 3 แบบตรวจสอบการปฏิบัติ 3 โปรแกรมการช่วยพื้นคืนชีพชั้นเวลาที่ใช้ 4 ชั่วโมง ประกอบด้วย การบรรยาย คลิป แผ่นพับ การสาธิตและการฝึกปฏิบัติ การช่วยฟื้นคืนชีพขั้น สถิติวิเคราะห์เป็นสถิติเชิงพรรณนา และ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมมคะแนนเฉลี่ยของความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพชั้นพื้นฐาน หลังการทดลองสูงกว่า ก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.000) โดยเพิ่มขึ้นจาก 9.34, 5.90 และยังพบว่าหลังการเข้าร่วม กิจกรรม กลุ่มตัวอย่างมีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานทุกคน ผลการศึกษาสามารถนำ ที่กิจกรรมไปประยุกต์ใข้ในพื้นที่อื่น ที่มีลักษณะทางประชากรคล้ายคลึงกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1062
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.