Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChanmalee, Sasiwimol-
dc.contributor.authorKhantikulanon, Nonlapan-
dc.contributor.authorFhoobunma, Kaewkanda-
dc.contributor.authorTiebtiem, Pasinee-
dc.contributor.authorLuadthong, Orada-
dc.contributor.authorศศิวิมล จันทร์มาลี-
dc.contributor.authorนลพรรณ ขันติกุลานนท์-
dc.contributor.authorแก้วกาญดา ฟูบุญมา-
dc.contributor.authorภาสินี เทียบเทียม-
dc.contributor.authorอรดา ลวดทอง-
dc.date.accessioned2021-05-17T15:11:28Z-
dc.date.available2021-05-17T15:11:28Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationจิตแข เทพชาตรี. (2559). ไขข้อสงสัย! ทำไมต้องกินอาหารเช้า กินแล้วได้อะไร ไม่กินได้หรือไม่?. ค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2562 จาก https://health.mthai.com/howto/healthcare/.html?utm.-
dc.identifier.citationณัฐธยาน์ ชาบัวคำ. (2562). ความรู้ทางโภซนาการ ทัศนคติต่ออาหาร พฤติกรรมกรรับประทานอาหาร และภาวะโภชนาการ ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี สุรินทร์, 9 (1), 18-29.-
dc.identifier.citationประไพศรี ศิริจักรวาล. (2558). ชี้คุณประโยชน์ทานอาหารมื้อเช้า สำคัญต่อพัฒนาการของเด็กวัยเรียน. วารสารสาธารณสุข ศาสตร์, 4 (2), 247-261.-
dc.identifier.citationปิยะกุล สิทธิรัตน์ ณ นครพนม, และอนุชาติ มาธนะสารวุฒิ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคอาหารเข้า และความ เหนื่อยล้าในนักศึกษาแพทย์ คณะแพทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 12 (2), 1-9.-
dc.identifier.citationสำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). การสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร พ.ศ. 2560. ค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2562 จาก http://www.nso.go.th.-
dc.identifier.citationศวิตา ศรีสวัสดิ์, และสุวลี โล่วิรกรณ์. (2562). การรับรู้และการบริโภคอาหารเช้าของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี กลุ่ม วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12 (4), 88- 96-
dc.identifier.citationศักดิ์อนันต์ รัตนสาครชัย. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 ในเขต อำเภอชุมพร จังหวัดชุมพร. วารสารอาหารและยา, 22 (1), 61-72.-
dc.identifier.citationอรุณศรี ฉั่วภักดีและคณะ. (2559). กินอย่างไรเมื่อเป็นเบาหวาน. คันเมื่อ 10 กันยายน 2562 จาก https://www.bangkokhospital.com/th/heatth-tips/eat-when-diabetes.-
dc.identifier.citationอารยา องค์เอี่ยม, และพงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล. (2561). การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย. วารสารวิสัญญีสาร, 44 (1), 36-42.-
dc.identifier.citationBest, J.W. (1997). Research in education. 3 rd ed. Prentice-Hall.-
dc.identifier.citationBloom, Benjamin S. (1975) Taxonomy of education objective, Hand book I:Cognitive Domain. Newyork : David Mc.Key.-
dc.identifier.citationWatanabeY, Saitol, Henmi I, Yoshimurak, MaruyamaK, YamauchiK,et al.(2014). Skipping Breakfast is Correlated with Obesity. Journal of rural medicine : JRM / Japanese Association of Rural Medicine. 9 (2), 51-58.-
dc.identifier.citationWatanabeY, Saitol, Henmi I, Yoshimurak, MaruyamaK, YamauchiK,et al.(2014). Skipping Breakfast is Correlated with Obesity. Journal of rural medicine : JRM / Japanese Association of Rural Medicine. 9 (2), 51-58. Zimbardo, P.G. (1997). Influencing attitude and behavior, (2nd ed.). California: Addison Wesley Publishing.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1061-
dc.description.abstractThis research was a one-group quasi-experimental research before and after joining the program. The objectives were compared to the knowledge and attitude before and after joining a health education program. The samples were high school students who were amount of 40 people by random sampling at a school in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Those data were collected by the questionnaires. The data were analyzed by frequency, percentage, means, standard deviation and paired t-test statistics. The results showed that the most of knowledge levels before joining the program were moderate levels at 75.0 % and after joining the program the knowledge levels were increased to high levels at 90.0 %. The attitude levels before joining the program were good levels at 70.0 % and after joining the program the attitude levels were increased to 100.0 %. When comparing the average of knowledge and attitude levels as before and after joining the program their results were significantly different that at p-value < .05. It can be concluded that the health education program on knowledge and attitudes for breakfast consumption has an effect on the levels of knowledge and attitude of the samples. Also, this study showed the health education program on knowledge and attitudes for breakfast consumption can improve breakfast behavior.en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดผลก่อนและหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติก่อน และหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการให้สุขศึกษาการบริโภคอาหารเช้า กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 40 คน โดยสุ่มเลือกอย่างง่าย เครื่องมือเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเปียงเบนมาตรฐาน และสถิติ Paired t-test ผลการศึกษาพบว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 75.0 หลังเข้าร่วมโปรแกรมความรู้ เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 90.0 ทัศนคติก่อนเข้าร่วมโปแกรมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 70.0 หลังเข้าร่วมโปรแกรมทัศนคติเพิ่มขึ้นคิด เป็นร้อยละ 100.0 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความรู้และทัศนคติก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมพบว่ามีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 สรุปผลได้ว่าการจัดโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้า มีผลทำให้ระดับความรู้ และทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถนำความรู้และทัศนคติที่เพิ่มขึ้นนี้ไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช้าต่อไปได้-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectKnowledge for breakfast consumptionen_US
dc.subjectAttitude for breakfast consumptionen_US
dc.subjectHealth education programen_US
dc.titleTHE EFFECTS OF HEALTH EDUCATION PROGRAM ON KNOWLEDGE AND ATTITUDES FOR BREAKFAST CONSUMPTION AMONG HIGH SCHOOL STUDENTS IN A SCHOOL, PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCEen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.