Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1060
Title: The Effect of Knowledge, Attitude and Practice Program on Breast Self Examination to Village Health Volunteer in Takfa Sub-District, Takfa District, Nakhonsawan Province
ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและทักษะการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์
Authors: Khaoaiam, Sunutcha
Poamitcharoen, , Thanyapat
Kraikitchakan, Nattiya
Keawmoongkun, Sutthida
Yanti, Nadchar
สุณัฐชา ขาวเอี่ยม
ธัญญพัทธ์ เผ่ามิตรเจริญ
ณัฐติยา ไกรกิจการ
สุทธิดา แก้วมุงคุณ
นัชชา ยันติ
Keywords: Knowledge Attitude and Practice Program on Breast Self Examination
Village Health Volunteer
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: พัชนภา ศรีเครือดำ ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา ณัฐกมล ชาญสาธิตพร. (2556). ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการ ตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน จังหวัดสุรินทร์. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 27 (3), 71-82.
มณเฑียร มรุตกรกุล. (2562). มะเร็งเต้านมมะเร็งอันดับ 1 ของผู้หญิง. [ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก: http://www.sikarin.com/content/detail/136/. (2562, 27 มิถุนายน).
วราพร วิริยะอลงกรณ์, กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์, วีศักดิ์ เมืองไพศาล, สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์. (2558). ผลของโปรแกรมพัฒนา ทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความรู้ เจตคติ และความถูกต้องในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอสม. อำเภอวัง จันทร์ จังหวัดระยอง. ธรรมศาสตร์เวชสาร, 15 (2), 282-290.
วรรณี ศักดิ์ศิริ. (2557) การศึกษาความรู้เจตคติเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองสตรีอายุ 30 ปีขึ้นไปในเขต รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านดอนคา นครศรีธรรมราช: รายงานการวิจัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านตอนคา.
วิภาพร สิทธิสาตร์. (2559). ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมกรตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความรู้เจตคติและทักษะ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ของอาสาสมัครสาธารณสุขในจังหวัดพิษณุโลก. (ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2018/integration/1517279 807263242002797.pdf. (2562, 4 สิงหาคม).
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. (2560). การมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงไต้จาก: htp://www.nci.go.th/th/index1.html. (2562, 1 สิงหาคม).
สถาบันวิจัยมะเร็งนานาชาติ องค์การอนามัยโลก. (2561). มะเร็งเต้านม โรคร้ายอันดับ 1 ที่ผู้หญิงต้องตรวจ. (ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก: https://www.rakluke.com/lifestyle/7/21/6560. (2562, 25 มิถุนายน)สุขุม กาญจนพิมาย. (2561). กระทรวงสาธรณสุข ชวนหญิงไทยเข้ารับการตรวจมะเร็งเต้านม หากพบก่อนรักษาก่อน
โอกาสรอดก็ยิ่งมากขึ้น. [ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก: https: /voicetv.co.th/read /HyH990Gim. (2562, 1 สิงหาคม) สุขุม กาญจนพิมาย. (2561). เดือนตุลาคม ทุกภาคส่วนร่วมกันรณรงค์านภัยมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/02/117940/. (2562, 25 มิถุนายน)
สุธารัตน์ ช้านาญช่าง, ปนัดดา ปริยทฤม, กนกพร หมู่พยัคฆ์. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองของสตรีวัยแรงงาน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิตล, 32 (3), 42-51.
สรารัตน์ ตระกูลรัมย์, จรุวรรณ ไตรทิพย์สมบัต. (2561). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี อายุ 45-54 ปี ในเขตชุมชนบ้านห้วยจระเข้ ตำบลหินดาด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ สคร. 9 ปี 2561, 24 (2), 46-56.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นครสวรรค์. (2561). สถิติผู้เสียชีวิตต้วยโรคมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก: http://www.nswo.moph.go.th/main/?cat=7. (2562, 30 มิถุนายน)
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข. (2560). อัตราตายโรคมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.hiso.or.th/hiso/visualize/Index.php?links=v236. (2562, 27 มิถุนายน).
Abstract: This research was a quasi-experimental research design with the one group Pretest-Posttest design. The objective was to provide village health volunteers have knowledge, attitude and practice for breast cancer screening by oneself after attending the program and to compare knowledge, attitude and to practice detect breast cancer by oneself before and after attending the program. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and Paired sample t-test. The analysis results showed that the subjects were knowledgeable about breast cancer before including the program at a high level 10% After the program, high level 40%. The attitude about breast cancer before joining the program was at a moderate level 43.3% After the program good level 83.3%, The practice for breast self-examination before including the program at low level 2.53% After the program, good level 100% The difference between pretest and posttest was statistically difference significant (p-value < .05). The effect of an educative, attitude and practice program on breast self-examination to village health volunteer showed the man scores before and after attending the program were statistically different (p-value < .05). In conclusion, this program could be used for screening early breast cancer by BSE
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติโรคมะเร็งเต้านม รวมทั้งทักษะการตรวจเต้านมด้วย ตนเองก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนติและการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ในอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่ข้าน ตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 30 คน โดยการเลือกลุ่มตัวอย่างแบบ จาะจง เก็บข้อมูลแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการเข้าร่มโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรูฐาน และ Paired sample t-test ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 10.0 หลังเข้าร่วมโปรแกรมระดับความรู้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 40.0 ทัศนคติก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 43.3 หลังเข้า ร่วมโปรแกรมทัศนคติเพิ่มขึ้นป็นร้อยละ 83.3 และทักษะการตรจเต้านมด้วยตนเองก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับไม่ดี ร้อยละ 2.53 หลังเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับดี เป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และทักษะก่อนและหลังเข้าร่วม โปรแกรมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value < .05) ดังนั้นส่รุปได้ว่าโปรแกรมที่ใช้ในการวิจัยนี้สามารถ นำไปใช้ส่งเสริมการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองในระยะเริ่มแรกได้
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1060
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.