Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1057
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Sungkhawan, Nutthinee | - |
dc.contributor.author | ณัฏฐิณี สังขวรรณ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-17T14:55:50Z | - |
dc.date.available | 2021-05-17T14:55:50Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | จักรกฤษณ์ ชวนฤทัยและคณะ. (2557). การเปรียบเที่ยบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง เพศศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยวิธีการสอนด้วย กรณีตัวอย่างและวิธีการสอนตามปกติ. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม 10 (2): 179-187. | - |
dc.identifier.citation | เฉสียว ผลพิกุล. (2554). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้การเสริมสร้าง ทักษะชีวิตเพื่อป้องกันโรคเอดส์ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 ในเขตอำเภอลาดบัวหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรต. | - |
dc.identifier.citation | ณัชชา โคตรสินธุ์. (2550). ผลของการสอนแบบอริยสัจสี่โดยใช้กรณีตัวอย่างที่มีต่อทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนขั้น ประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. | - |
dc.identifier.citation | ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | - |
dc.identifier.citation | ประทานพร ศรีอนันต์. (2555). กรนำเสนอแนวทางพัฒนาทักษะชีวิตของเยาวชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒศึกษา บัณฑิตวิทยาสัย ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | - |
dc.identifier.citation | ประเวศ ะสี.(2562). นิเวศทางปัญญาชองมหาชน ยุทธศาสตร์ทางปัญญาพาชาติออกจากวิกฤติ, คันเมื่อ 7 มิถุนายน 2563 จ7ก https://waymagazine.org/ | - |
dc.identifier.citation | แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต. (2555). 6 คำถามสร้างทักษะชีวิต : ประสบการณ์สำหรับครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้. พิมพ์ ครั้งที่ 1. ห้างหุ้นส่วนจำกัด จูนลาย มอร์นิ่ง, กรุงเทพมหานคร | - |
dc.identifier.citation | พัชราภรณ์ ทัพมาสี. (2558). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เวลาว่างของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตันเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. | - |
dc.identifier.citation | มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพ: เทียนวัฒนา พริ้นท์ติ้ง. | - |
dc.identifier.citation | มูลนิธิยุวพัฒน์. (2562). ทักษะชีวิต สิ่งสำคัญสำหรับวัยรุ่นศตวรรษที่ 21. คันเมื่อ 3 มิถุนายน 2563 จาก https://www.yuvabadhanafoundation.org/th | - |
dc.identifier.citation | รมณภัทร กตตน์วงศกร. (2557). การศึกษาผลการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี 6 โรงเรียนบางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) สำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | - |
dc.identifier.citation | วรางคณา หุ่นสุวรรณ. (2552). การทดลองสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างเรื่องการปฏิบัติตนเป็นคนดี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาทักษะกรคิดวิเคราะห์และจิตสาธารณะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏเทพสตรี. | - |
dc.identifier.citation | ศรีประภา ชัยสินพ (2562). สภาพจิตใจของวัยรุ่น. คันเมื่อ 20 มีนาคม 2563 จาก https://med.mahidoL.ac.th/ramamental/generaldoctor/ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นฟื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนว ทางการพัฒนาทักษะชีวิต บูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. | - |
dc.identifier.citation | WHO. (1994). Life skills education for children and adolescence in schooL. Geneva: WHO. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1057 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were as follows: 1) to make life skill comparison between Grade 9 students learning by using the sample case and cognitive learning process and students learning by the conventional teaching approach; and 2) to compare life skills of Grade 9 students learning by using the sample case and cognitive learning process to the 70 percent criterion. The samples consisted of 2 classes of Grade 9 students in academic year 2019 second semester under Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center, Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom. The samples were selected through the cluster sampling . The research instruments used were lesson plans and pre and post achievement tests. Data were analyzed using mean and standard deviation. The hypotheses were tested by t-test for independent. Research findings were as follows: 1. Grade 9 students learning by using the sample case and cognitive learning process had higher life skills than students learning by the conventional teaching approach with statistically significant difference at the .05 level. 2. Life skills of Grade 9 students learning by using the sample case and cognitive learning process achieved more than 70 percent criterion being not statistically significant difference at the .05 level. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างร่วมกับกระบวนการทางปัญญากับนักเรียนที่ได้รับการสอนตามปกติ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณี ตัวอย่างร่วมกับกระบวนการทางปัญญากับกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 ของโรงเรียนสาธิตแห่งหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม จำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาจากวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผ่นการจัดการเรียนรู้ และแขบวัดผลการเรียนรู้ก่อนและหลังกรทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทสอบ ที่ แบบเป็นอิสระจากกัน ผลการ์วิจัย พบว่า 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างร่วมกับกระบวนการทางปัญญา มี ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างร่วมกับกระบวนการทางปัญญา มี ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | life skills | en_US |
dc.subject | students | en_US |
dc.subject | cognitive learning process | en_US |
dc.subject | sample case | en_US |
dc.title | The results of using the sample case and cognitive learning process to improve life skills of Grade 9 students | en_US |
dc.title | ผลของการใช้กรณีตัวอย่างร่วมกับกระบวนการทางปัญญา เพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ผลของการใช้กรณีตัวอย่างร่วมกับกระบวนการทางปัญญา.pdf | 223.45 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.