Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1054
Title: Impacts of Corporate Social Responsibility Activities on Kung Bang Kachao Communities, Samut Prakan Province
ผลกระทบจากกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อชุมชนคุ้งบางกะเจ้า จังหวัด สมุทรปราการ
Authors: Sutudto, Pichayapa
Vijitsrikamol, Kampanat
Duangmal, Kittichai
พิชญาภา สุทัตโต
กัมปนาท วิจิตรศรีกมล
กิตติชัย ดวงมาลย์
Keywords: Corporate Social Responsibility(CSR)
Kung Bang Kachao
Impacts
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมป่าไม้. 2562. ข้อมูลกิจกรรมปีงบ2562. [โปรแกรมคอมพิวเตอร์]. ศูนย์จัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ์. นฤนาท สนลอย. 2542. แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวบริเวณบางกะเจ้าตามโครงการสวนกลางมหานคร อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยมหิดล.
นัทธ์หทัย ขำดี. 2559. มาตรการทางกฏหมายในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ:กรณีศึกษาพื้นที่บางกะเจ้า. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ. 2531. การวัดทัศนคติ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. 2549. หลักการและการใช้สถิติการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการวิจัยทางการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา: ชาญเมืองการพิมพ์.
ภัททิรา คูรณารักษ์. 2555. การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีผลต่อการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวในพื้นที่ บางกะเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เรืองอุไร เพชรสังข์. 2552. ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ กรณีศึกษาความรับผิดชอบของ บมจ.ปตท. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต เศรษฐศาสตร์การเมือง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วศินี นพคุณ. 2551. กลยุทธ์การสื่อสารเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม และการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม ของกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต นิเทศศาสตรพัฒนาการ, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
วอยซ์ทีวี. 2562. มองโลก มองไทย. ค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2563. จาก www.voicetv.co.th/watch/Fkr5H7q5E.
ศิริรัตน์ พรหมดวงตา. 2559. รูปแบบกิจกรรมเพื่อการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของธนาคารพาณิชย์ในประเทศ ไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต นิเทศศาสตร์, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ศิริพงศ์ ศรีสุขกาญจน์. 2558. ความรู้ ทัศนคติต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงานอู่ทหารเรือพรุจุลจอมเกล้า กรมอู่ทหารเรือ กรณีศึกษา: ในสายงานฝ่ายผลิต. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการทางวิศวกรรม, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ศุภโชค นาคเงิน. 2556. การใช้ประโยชน์และการจัดการของประชาชนเพื่ออนุรักษ์พื้นที่สีเขียวบางกะเจ้า จังหวัด สมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการทรัพยากร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในประบรมราชูปถัมภ์. 2553. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2562. จาก www.thaicsr.com/2008/01/blog-post_07.html.
สถาบันพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน. 2556. ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร. 1,000เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท.
สาขาวิขาการออกแบบชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2558. ฐานข้อมูลชุมชนคุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดงจังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ.2558.
สุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล และ ปกรณ์ เมฆแสงสวย. 2560. การกลายเป็นเมืองจากผังเมืองรวม: กรณีศึกษาบางกระเจ้า. วารสารสังคมศาสตร์. 20.
เสถียร เหลืองอร่าม. 2527. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร: อักษร สยามการพิมพ์.
อนิศา อ่อนบุญญะ. 2549. แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวบางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต การจัดการทรัพยากร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อาภาศรี ตระกูลจั่นนาค. 2551. ความรู้ความเข้าใจของผู้ทำบัญชีเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 เรื่องการ นำเสนองบการเงิน ในจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Abstract: This research sought to study social status, the economic, management of CSR, green spaces conservation, along with assessing knowledge level, attitude, and participation in CSR activities. The research also aimed to study the opinions of people on social, economic and environmental impacts of CSR activities. The data derived from 317 samples living in Bang Kachao and Song Kanong. The standard deviation, cross tabulation and Chi-square test were used to analyze the data. Results revealed that the respondents are mostly female, aged 41 – 50 years old. Education levels are mostly bachelor's degree. Monthly incomes are less than 10,000 – 20,000 baht, occupations are mainly employees and have been living in the area for over 30 years. Regarding management has divided into 4 parts; which are 1.green areas, 2.firefly conservation, 3.career development, 4.waste management, less participation conservation .Next, knowledge level medium, positive attitudes but less participation on CSR activities. Positive opinions, the CSR activities led to an increasing number of tourists, local shops, and income. Therefore, both the private sector and government sector should consider the needs of people in the area, keep monitoring the process and result of activities and provide knowledge and better understanding to accomplish proper CSR and sustainable green space conservation.
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.สถานภาพด้านสังคม เศรษฐกิจ และการบริหารจัดการ CSR รวมถึงการอนุรักษ์ พื้นที่สีเขียว 2.ประเมินระดับความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับ CSR 3.ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ในการทำ CSR เก็บข้อมูลตัวอย่างในตำบลบางกะเจ้าและทรงคนองจำนวน 317 ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ใช้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทำตารางไขว้โดยทดสอบ Chi-Square ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุอยู่ในช่วง 41 – 50 ปี การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีรายได้อยู่ที่ต่ำกว่า 10,000 – 20,000บาท ประกอบอาชีพรับจ้าง และอยู่อาศัยภายในพื้นที่มามากกว่า 30 ปี การบริหารจัดการจะแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ พื้นที่สีเขียว อนุรักษ์หิ่งห้อย พัฒนา อาชีพ และการจัดการขยะ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มีน้อย ต่อมาความรู้อยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติทางบวกต่อ กิจกรรม CSR การมีส่วนร่วมในกิจกรรมมีน้อย ความคิดเห็นต่อผลกระทบเกิดในทางบวกคือการมีกิจกรรมทำให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะการเพิ่มปริมาณนักท่องเที่ยว ร้านค้า และรายได้ ดังนั้นหน่วยงานทั้งเอกชนและภาครัฐควรคำนึงถึงความต้องการ ของคนในพื้นที่ คอยติดตามตรวจสอบผลการทำกิจกรรมและให้ความรู้ เพื่อการทำCSRที่เหมาะสมและการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1054
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.