Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1049
Title: Problems and Obstacles of Agricultural Land Use of Farmers, allocated by Nakhon Pathom Land Reform Office.
ปัญหาและอุปสรรคการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของเกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรจาก สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม
Authors: Pengrungruangwong, Rungnapa
รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์
Keywords: Office of Land Reform
Nakhon Pathom
Farmes
Problems and Obstacles of Agricultural Land Use
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงกษตรและสหกรณ์. (2561). การปฏิรูปที่ดินเพื่อกษตรกรรม. ค้นเมือ 1 มิถุนายน 2562 จาก https://www.alro.go.th/legal aff/more news.php?cid=111.
จงจิตร ปิ่นแก้ว. (2552). การใช้ประโยชน์ในที่ดินทำกินที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ใน ตำบลแม่หอพระ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ้.
ชาณุ วงศ์สวัสดิวัฒนา. (2547). ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบปฏิรูปของราษฎรบ้านสหกรณ์ ตัวอย่างรวมไทย อำเภอกยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทินกร เพียภูเขียว. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรใน เขตปฏิรูปที่ดินตำบลวังน้ำเขียว อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นภัทชา คงสัมฤทธิ์. (2550). การพัฒนากลยุทธ์การส่งเสริมให้เกษตรกรทำประโยชน์ในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ตำบลบ่อถ้ำ อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.ประดิษฐ์ สวัสดิ์ตระกูล. (2551). ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ที่ดินภายหลังการจัดสรรที่ดินอันเนื่องจากโครงการเขื่อน สิรินธร ตำบลนิคมลำโดมน้อย อำเภอสิริธร จังหวัดอุบลราชธานี.วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ยุพา ราชจินดา. (2551). ปัจจัยที่มีต่อการเปลี่ยนสิทธิการใช้ประโยชน์ที่ดินของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินตำบลระเริง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการใช้ที่ดิน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัตนพร ทะสา. (2526). ผลได้ของการจัดรูปที่ดินต่อครอบครัวของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาส่งเสริมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัตนา รัตนวงษ์. (2557). การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สันทนา ประเสริฐวัฒนากร. (2555). ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อโครงกรจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตำบลบ้านสระ อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุภารัตน์ มาตสวิง. (2550). ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานปฏิรูปที่ดิน เพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. (2561). การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2562 จาก https://ww.alro.go.th/alro_th/main.phpflename=index.
อนันต์ มิตรคุณ. (2550). ความคิดเห็นของราษฎรต่อโครงการปฏิรูปการจัดสรรที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าคำใหญ่ และบำคำขวาง ท้องที่ตำบลอาจสามารถ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการใช้ที่ดินและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อังคณา พวงสุดรัก. (2552). ความคิดเห็นของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐมต่อการให้บริการของสำนักงาน การปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Abstract: The purpose of this study 1) to study the problems and obstacles of land use of farmers who have been allocated from Nakhon Pathom Land Reform Office, 2) to study the solutions to problems and obstacles of land use of farmers who have been allocated from the Office of Land Reform in Nakhon Pathom Province. The population is the farmers who have been allocated land in Nakhon Pathom Land Reform Area 247 persons. Using the whole population as a sample. The data wereanalyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and data collection with open-ended questions by content analysis. The results of the study on problems and obstacles of agricultural land use of the farmers who were allocated by the Office of Land Reform in Nakhon Pathom Province showed that the overall opinion was low and when considering each. In order of descending order, the top three issues were financials for production and distribution. Suggestions to solve problems and obstacles of land use of farmers who have been allocated from Nakhon Pathom Land Reform Office. It should support the pricing of produce and the farmers can bargain themselves. Farmers should be trained to have knowledge of integrated agriculture or new farming the farmers can farm all year round. It should supply the markets for the farmers to have a market for the products of the farmers.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคการใช้ประโยชน์ที่ดินของเกษตรกรที่ได้รับการจัดสรร จากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคการใช้ประโยชน์ที่ดินของ กษตรกรที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม ประชากร คือ เกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรที่ดินใน เขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม จำนวน 247 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเพื่อหาค่าความ! ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยคำถามปลายเปิดโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปัญหาและอุปสรรคการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของเกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงาน าารปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม พบว่า โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียง ตามลำดับจากมากไปหาน้อย ประเด็นที่มีคะแนนมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ ด้านการเงิน ด้านการผลิต และด้านแหล่ง จำหน่ายสินค้า ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ใขปัญหาและอุปสรรคการใช้ประโยชน์ที่ดินของเกษตรกรที่ได้รับการจัดสรรจาก สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครปฐม ควรสนับสนุนการกำหนดราคาผลผลิตให้มีความแน่นอนและเกษตรกรสามารถ ต่อรองราคาผลผลิตได้ด้วยตนเอง เพื่อแก้ปีญหาพ่อค้าผูกขาดการลงทุน ควรมีการฝึกอบรมเกษตรกรให้มีความรู้เกี่ยวกับการ ทำการเกษตรผสมผสานหรือเกษตรแบบใหม่ เพื่อให้เก ษตรกรสามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปี ควรจัดหาตลาดจำหน่าย ผลผลิตให้แก่เกษตรกร เพื่อให้มีตลาดรองรับสินค้าของเกษตรกรที่แน่นอน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1049
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.