Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1045
Title: | Factors Related to the Occurrence of Complications in Elderly patients, with Hip Fractures ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยสูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหัก |
Authors: | Sahnguanpanit, Yaowalak เยาวลักษณ์ สงวนพานิช |
Keywords: | Related factors Hip fracture Elderly Complication |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2562). สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2563
จาก http://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/275 ชัยรัตน์ วงศ์วรพิทักษ์ (2559). อัตราตายที่ 1 ปีในผู้ป่วยกระดูกข้อสะพกหักในผู้สูงอายุที่รักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัด. วารสารวิชาการ แพทย์เขต 11, 30: 345 - 355 ปรีชา นวลเป็นใย.(2561). ประชากรรุ่นเกินล้าน. วารสารข้าราชการ, (60(4): น.4. วชิรพงษ์ ชนะ. (2019). กระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุ. สืบคันเมื่อ 20 เมษายน 2563 จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/ocsc-2561-y60b04.pdf) วรางคณา สุเมธพิมสชัย, สุรสีห์ พร้อมมูล, ภัทรา คูระทอง. (2554, กรกฎาคม-กันยายน). การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะใน ผู้ใหญ่. Journal of the Nephrology Society of Thailand 17(3): 5-14 นงเยาว์ ธราวรรณ, ยุพาพร หงส์สามสิบเจ็ด, และมิ่งสกุล แดนโพธิ. (2561). อุบัติการณ์และลักษณะเสี่ยงต่อการเกิด ภาวะแทรกช้อนระบบทางเดินหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกายในห้องผ่าตัดและห้องพักฟื้น โรงพยาบาลแพร่. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 27(6). ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ. (2553). การดูแลด้านโภชน่าการในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Joumal of Nursing Science; 28(3): 13-21 มานี หาทรัพย์, มงคลชัย หาทรัพย์ และทัศนีย์ นะแส. (2557, พฤษภาคม - สิงหาคม). ความรู้ ความสามารถของผู้ดูแลหลักใน การดูแลผู้ป่วยสูงอายุกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตั โรงพยาบาลสงขลานครินทร. วิทย'ลัยพยาบาลสงขลา นครินทร์, 34(2): 53-65 เมธี จินะโกฏิ และ การันต์ พงษ์พานิช. (ตุลาคม-ธันวาคม, 2561). การเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจในผู้สูงอายุและการ จัดการทางกายภาพบำบัดทรวงอก. เวชสารแพทยทหารบก 71 (4). เรื่องเดช พิพัฒน์ยาว์กุล.(2560). ผลลัพธ์หลังจากการเกิดกระดูกสะพกหักในผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษา. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์, 32(1), 21-34 สมบัติ โรจน์วิโรจน์. (2558). สะโพกหัก" อันตรายของผู้สูงอายุ เสี่ยง "อัมพาต-โรคติดเชื้อ" ถึงตายได้. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2563 https://www.thairath.co.th/content/532721 สรายุธ มงคล และ ศิวภรณ จันทาพูน. (2557, มกราคม-เมษายน). การเปรียบเทียบสมรรถภาพปอดและความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อหายใจในคนที่มีภาวะน้ำหนักตัวเกิน คนอ้วนระดับที่ และ คนอวนระดับที่ 2. วารสารเทคนิคการแพทย และกายภาพบำบัด, 26(1), 48-55 สุธาทิพย รุงเรืองอนันต และ เตือนใจ เทียนทอง. (2561). การศึกษาผลลัพธของการดูแลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก โดยการมี ส่วนร่วมของภาคีเครือขาย จังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ศิลปากร, โรงแรมดุสิตธานี จังหวัดเพชรบุรี ป Aharonoff, G. B., Immerman, I. B., & Zuckerman, J. D. (September 2004) Outcomes After Hip Fracture. Techniques in orthopoedics, 3(19) p 229-234. Retrieved from: https://journals.lww.com/techortho/Abstract/2004/09000/Outcomes After Hip Fracture.17.aspxป Chariyalertsak, S., Suriyawongpisal, P. & Thakkinstain, A. (2001). Mortality after hip fractures in Thailand. International Orthopaedics (SICOT) 25, 294-297 Retrieved May, 10 from https://doi.org/10.1007/s002640100270 Chariyalertsak, S, Suriyawongpisal, P,& Thakkinstain, A. (2001). Mortality after hip fractures in Thailand . International Orthopaedics (SICOT), 294-297. Cluett, J. (17 February 2020). Hip Fracture Types and Complication. Retrieved from htps://www.verywellhealth.com/hip-fracture-2548626 Gjertsen, J, Baste, V, Fevang, J.M. et al. (2016). Quality of life following hip fractures: results from the Nonwegian hip fracture register. BMC Musculoskeletal Disorders 17, 265 Retrieved from https://doi.org/10.1186/s12891-016-1111-y Jaul, E, Barron, J, Rosenzweig, J. P., & Menczel, J. (2018). An overview of co-morbidities ies and the development of pressure ulce cers arnong older adults. BMC geriatrics, 18(1), 305. Retrieved May, 15 from https://daiorg/10.1186/s12877-018-0997-7 Kim, S. D., Park, S. J., Lee, D. H., & Jee, D. L. (2013). Risk factors of morbidity and mortality following hip fracture surgery. Korean journal of anesthesiology, 64(6), 505-510. Retrieved from https://doi.org/10.4097/kjae.2013.64.6.505 Kristensen, M. T., Jakobsen, T. L, Nielsen, J. W, Jorgensen, L. M., Nienhuis, R. J, & Jonsson, L. R. (2012). Cumnulated Ambulation Score to evaluate mobility is feasible e in geriatric patients and in patients with hip fracture. Danish medical journal, 59(7), https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/22759844/ Lewis, P. M. Waddell, J. P.( 2016, December 1). When is the ideal time to operate on a patient with a fracture of the hip?. e Bone & Joint Jo Journal,. 98-B(12) Retrieved from https://doiorg/10.1302/0301-620X.98812.BJ-2016-0362.R2 Lyder CH, & Ayello EA. (2008, April). Pressure Ulcers: A Patient Safety Issue. In: Hughes RG, editor. Patient Safety and Quality: An Evidence-Based Handbook for Nurses. Rockville (MD): Agency for Healthcare Research and Quality (US); Chapter 12. Retrieved May, 10 from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK2650/ Maria T. Vidan, Elisabet Sanchez, Yassira Gracia, Eugenio Maranon, and Jose A Serra. (2011). Causes and Effects of Surgical Delay in Patients With Hip Fracture A Cohort Study. Annals of Internal Medicine, Retrieved from https://doi.org/10.7326/0003-4819-155-4-201108160-00006 Nie, W., Zhang, Y., Jee, 5. H., Jung, K. J, Li, B. & Xiu, Q. (2014). Obesity survival paradox in pneumonia: a meta-analysis. BMC medicine, 12(61). Retrieved May, 10 from https://doiorg/10.1186/1741-7015- 12-61 P. Rodriguez-Fernandez, Carpintero. P. (2011). Effects of Delayed Hip Fracture Surgery on Mortality and Morbidity in Elderly Patients. Clinical Orthopa aedics and Related Research, 469(11), Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/49732722 Peters, U, & Dixon, A. E. (2018). The effect of obesity on lung function. Expert review of respiratory medicine, 12(9), 755-767. Retrieved May, 10 from https://doi.org/10.1080/17476348.2018.1506331 Poh, K. S, & Lingaraj, K. (2013). Complications and their risk factors following hip fracture surgery. Journal of orthopaedic surgery (Hong Kong), 21(2), 154-157. Retrieved from https://doi.org/10.1177/230949901302100207 Winzenberg, Si, L., Jiang, T. M., Chen, Q, M., & Palmer, A J. (2015). Projection of osteoporosis-related fractures and costs in China: 2010-2050. Osteoporosis international: a journal established as result of cooperation between the European Foundation for Osteoporosis and the Notiona! Osteoporosis Foundation of the USA, 26(7), 1929-1937. https://doi.org/10.1007/500198-015-3093-2 Wongtriratanachai, P., Luevitoonvechkij, S., Songpatanasilp, T., Sribunditkul, S., Leerapun, T., Phadungkiat, S., & Rojanasthien, S. (2013). Increasing incidence of hip fracture in Chiang Mai, Thailand. Journal of clinical densitometry: the official journal of the International Society for Clinical Densitomnetry, 16(3), 347-352. Retrieved May, 11 from https://doi.org/10.1016/jjocd.2012.07.002 Yi-Ju Shih. Cheng-Hung Hsieh, Ting-Wei Kang, Shih-Yen Peng, Kuo-Tung Fan, Lee-Min Wang. (2010, March). General Versus Spinal Anesthesia: Which is A Risk Factor for Octogenarian Hip fracture repair patients?. International Journal of Gerontology, 4 (1) Retrieved from https://www.sciencedirect.com/science/article/pi/5187395981070020X7via%3Dihub |
Abstract: | This retrospective study aimed to examine the association between patient, disease & treatment
factors and complications in elderly patients with hip fractures by collecting data from electronic medical
records of elderly patients with hip fractures who were treated as inpatients at Nakhon Pathom Hospital
from July 2017 to June 2018, a total of 180 patients. Data were collected form patient data records and
care. Data analysis patient factors disease factors treatment factors and occurrence of complications
analyzed by descriptive statistics such as frequency distribution, percentage, and the relationship between
patient factors disease factors and the factors of treatment with the occurrence of complications
analyzed with Chi-Square descriptive statistics, with significance at 0.05 level.
The results showed that patients with complications included: 48 urinary tract infections
(26.67%), Delirium 40 cases (22.22%), pressure ulcers 12 cases (6.67%), pneumonia 11 cases (6.11%) veins
Thrombosis (3 cases (1.67%) and died within 1 year after hip fracture 37 cases (20.56%). Personal factors,
female gender was associated with urinary tract infection, older age and lower BMI were significantly
related to pneumonia. Disease factors: Having two chronic illnesses or more was associated with pressure
ulcers. Non surgical cases and being unable to move were associated with death within one year after
fracture. Longer surgical waiting period was associated with urinary tract infections and the occurrence of
embolism (Thromboembolism) Surgery under general anesthesia was significantly associated with
pneumonia. The results of the study provide suggestions for improving the quality of nursing practice by
using the results of the study to determine the risk factors for various complications in the elderly with
hip fractures. Surveillance and prevention measures of such complications are needed for those with the
risk factors การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา แบบย้อนหลัง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผู้ป่วย ปัจจัยด้าน โรค และปัจจัยด้านการรักษากับการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยสูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหัก โดยเก็บข้อมูลจากเวชระเบียน อิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยสูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหัก ที่เข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาลนครปฐม ระหว่างเดือน กรกฎาคม 2560 ถึง มิถุนายน 2561 รวมจำนวน 180 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยและการดูแลรักษา วิเคราะห์ข้อมูล ปัจจัยด้านผู้ป่วย ปัจจัยด้านโรค และปัจจัยด้านการรักษา การเกิดภาวะแทรกซ้อน วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง บรรยาย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ รู้อยละ ส่วนความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยด้านผู้ป่วย ปัจจัยด้านโรค และปัจจัยด้านการ รักษา กับการเกิดภาวะแทรกช้อน วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงอนุมาน โดยกำหนดความมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกข้อนต่งๆ ดังนี้ ติดเชื้อทางเดินปีสสาวะ 48 ราย (ร้อยละ 26.67) มีภาวะ สับสน 40 ราย (ร้อยละ 22.22) เกิดแผลกดทับ 12 ราย (ร้อยละ 6.67) ปอดอักเสบ 11 ราย (ร้อยละ 6.11) เส้นเลือดอุดตัน 3 ราย (ร้อยละ 1.67) และเสียชีวิตภายใน 1 ปีหลังกระดูกสะพกหัก 37 ราย (ร้อยละ 20.56) ปัจจัยด้านบุคคล เพศหญิง มี ความสัมพันธ์กับการเกิดการติดเชื้อทางเดินปีสสาวะ อายุมาก และดัชนีมวลกายน้อย มีความสัมพันธ์กับการเกิดปอดอักเสบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.05) ปัจจัยด้านโรค จำนวนโรคประจำตัว มากกว่า 2 โรค มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผลกดทับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P-0.05) ปัจจัยด้านการรักษา ชนิดของการรักษา ไม่ผ่าตัด และความสามารถในการเคลื่อนไหว ร่างกาย (Ambulation) ได้น้อยก่อนจำหน่าย มีความสัมพันธ์กับการเสียชีวิตภายใน 1 ปีหลังกระดูกหัก ระยะเวลารอผ่าตัด นาน มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาว และการเกิดเส้นเลือดอุดตัน (thromboembolism) และชนิดของการ ระงับความรู้สึกระหว่างผ่าตัด ชนิดระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย มีความสัมพันธ์กับการเกิดปอดอักเสบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.05) จากผลการศึกษาให้ข้อเสนอแนะเพื่อกรพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบา โดยนำผลการวิจัยมากำหนดการ ประเมินปัจจัยสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในผู้สูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหัก ร่วมกับการจัดทำแนวทางการเฝ้าระวัง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มเสี่ยงอย่างเหมาะสม เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิต |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1045 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ปัจจัยที่สัมพันธกับการเกดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยวยสูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหั.pdf | 246.03 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.