Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1013
Title: | Factors Affecting the Brand Image of the Industrial Estate Authority of Thailand ปัจจัยที่มีผลต่อภาพลักษณ์ตราสินค้าองค์กรการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย |
Authors: | Thesthian, Kornkanok Changchenkit, Chuenjit กรกนก เทศเทียน ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ |
Keywords: | corporate brand personality Industrial Estate Authority of Thailand corporate brand imag |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กฤชณัท แสนทวี. 2557. แบรนด์ไทยแลนด์: การวัดคุณค่าแบรนด์ประเทศไทยจากภาพลักษณ์และบุคลิกภาพด้านการ
ท่องเที่ยว. การประชุมสัมมนาทางวิชาการ มทร.ตะวันออก มรภ. กลุ่มศรีอยุธยาและราชนครินทร์วิชาการและวิจัย.
(พฤษภาคม 2557): 169-172. กฤษดา เชียรวัฒนสุข และศรากุล สุโคตรพรหมมี. (2559). ผลของการรับรู้บุคลิกภาพของตราสินค้าของบริษัทและ ความผูกพันองค์กรของพนักงานต่อการแสดงพฤติกรรมเสริมสร้างของพนักงาน. วารสารเกษมบัณทิต. 17 (กรกฎาคม-ธันวาคม). 73-93. กุณฑลี รื่นรมย์. (2560). ตราสินค้าองค์กร&การประเมินค่าตราสินค้าองค์กร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ไซเบอร์พริ้นกรุ๊ป. ประดิษฐ์ จุมพลเสถียร. (2547). การสร้างตราสินค้าและการสื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ:แพค อินเตอร์กรุ๊ป ปันรสี โกศลานันท์. 2558. ภาพลักษณ์ของตราสินค้าพานาโซนิค ในการรับรู้ของลูกค้า ในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปิยะ งามเจริญมงคล. (2559). การสังเคราะห์แบรนด์องค์กร: กรณีศึกษาภาพลักษณ์แบรนด์องค์กรในภาคการบริการ. วารสารบริหารธุรกิจนิด้า. (19). 65-79. พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2558). ปนั้ ตราสินค้าฮิต ให้ติดตลาด. กรุงเทพ.: มติชน ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ: ราชบัณฑิตยสถาน. วิทยา จารุพงศ์โสภณ. (2557). กลยุทธ์การบริหารตราสินค้า. กรุงเทพฯ: แปลน พริ้นติ้งท์ วิไลรัตน์ เกรียท่าทราย. 2555. ภาพลักษณ์การเป็นธนาคารแสนสะดวกของ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิลาวัณย์ หงษ์สุวรรณ. (2542). กลยุทธ์การสร้างเอกลักษณ์และภาพลักษณ์เครื่องมือสร้าง ความแตกต่างในยุค การเปลี่ยนแปลงสูง. วารสารนิเทศศาสตร์. 17 (ตุลาคม- ธันวาคม). หน้า 43-57. ศรัณย์ อมาตยกุล และ ก่อพงษ์ พลโยราช. (2559). บุคลิกภาพตราสินค้า. วารสารนักบริหาร, 36(2), 89-101. Boulding, Kenneth E. (1975). The Image: Knowledge in Life and Society. Michigan The University of Michigan. Gray, E. R., & Balmer, J. M. T. (1998). Managing image and corporate reputation. Long Range Planning, 31(5): 695-702. Ivana First and Marija Tomic. 2 0 1 1 . Formal and Informal Communication Channels in Creating Corporate Brand Image and Preference. Market-Tržište. 23 (1): 45-61. Kevin Lane Keller. (2013). Strategic Brand Management. Malaysia: Pearson Education Limited. |
Abstract: | The objective of this research is to study factors affecting the brand image of the Industrial
Estate Authority of Thailand by a group of 390 samples, who work in industrial estates from the Eastern
Economic Corridor Project (EEC) area consisting of Chachoengsao Province. Chonburi Province and
Rayong province. The data is collected by online questionnaires. And Using statistical methods to
analyze data, including descriptive analysis by frequency, percentage, mean and standard deviation,
and quantitative analysis used to test the hypothesis by Independent Sample t-test, F-test, One-way
ANOVA, and multiple regression analysis. At the level of significance 0.05. The result shows that the
demographic factors that affect the corporate brand image are the type of industry in which the sample
is working, which affects to the affective component of corporate brand image. And when considering
the factors of corporate brand personality, what shows the sample group feels that the Industrial Estate
Authority of Thailand has competence personality type because it is a credible organization, has
expertise in industrial estates business. The factors of corporate brand personality that affect the
corporate brand image viz sophistication and ruggedness affect both cognitive component and affective
component from corporate brand image. While sincerity from corporate brand personality factors affects
only the affective component, and excitement from corporate brand personality factors affects only the
cognitive component. งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางด้านบุคลิกภาพตราสินค้าองค์กรที่จะส่งผลต่อการรับรู้ ภาพลักษณ์ของตราสินค้าองค์กรการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยศึกษากลุ่มของผู้ที่ทำงานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ที่อยู่ในพื้นที่โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ประกอบด้วย จังหวัด ฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยองจำนวน 390 ตัวอย่าง ด้วยการเก็บข้อมูลทางแบบสอบถามออนไลน์ และวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติ ทั้งการวิเคราะห์เชิงพรรณนาด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ ที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ด้วยวิธี Independent Sample t-test, F-test, One-way ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่ส่งผล ต่อภาพลักษณ์ตราสินค้าองค์กร คือ ประเภทอุตสาหกรรมของสถานประกอบที่ตัวอย่างทำงานอยู่ โดยส่งผลต่อองค์ประกอบ เชิงความรู้สึกของภาพลักษณ์ตราสินค้าองค์กร และเมื่อศึกษาปัจจัยด้านบุคลิกภาพแบรนด์องค์กร พบว่ากลุ่มตัวอย่าง มี การรับรู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยนั้นมีบุคลิกภาพความสามารถเด่นที่สุด จากการที่เป็นองค์กรที่น่าเชื่อถือ มี ความเชี่ยวชาญในด้านการจัดตั้งและบริหารนิคมอุตสาหกรรม โดยปัจจัยด้านบุคลิกภาพตราสินค้าองค์กรที่ส่งผลต่อ ภาพลักษณ์ ตราสินค้าองค์กร ประกอบด้วยกลุ่มบุคลิกภาพด้านความหรูหราและด้านความสมบุกสมบัน ที่ส่งผลต่อ องค์ประกอบเชิงความรู้และเชิงความรู้สึกของภาพลักษณ์ตราสินค้าองค์กร ในขณะที่กลุ่มบุคลิกภาพด้านความจริงใจและ ด้านความสามารถส่งผลเฉพาะต่อองค์ประกอบเชิงความรู้สึก และกลุ่มบุคลิกภาพด้านความตื่นเต้นส่งผลเฉพาะต่อ องค์ประกอบเชิงความรู้ของภาพลักษณ์ตราสินค้า |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1013 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ปัจจัยที่มีผลต่อภาพลักษณ์ตราสินค้าองค์กรการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.pdf | 192.9 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.