Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSaeLim, Siriporn-
dc.contributor.authorkumpool, Suphansa-
dc.contributor.authorSirinukulwattana, Suprawee-
dc.contributor.authorศิริพร แซ่ลิ้ม-
dc.contributor.authorสุพรรษา คำพูล-
dc.contributor.authorสุประวีณ์ ศิรินุกุลวัฒนา-
dc.date.accessioned2021-05-16T13:45:34Z-
dc.date.available2021-05-16T13:45:34Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกนกพร รังทอง, ชมพิสุทธิ์ เมฆสว่าง และชัญฐิกา สุวรรณณิน. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อการพฤติกรรมการออมของประชาชน ในเขตจังหวัดพิษณุโลก พิจิตร สุโขทัยและอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนาสังคม, คณะศิลปกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationจุฑาธิบดิ์ ฤกษ์สันทัต . (2554). การเปรียบเทียบพฤติกรรมการออมของพนักงานบริษัทเอกชนและข้าราชการในเขต กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.-
dc.identifier.citationเดือนรุ่ง ช่วยเรือง. (2555) .ปัจจัยที่อิทธิพลต่อพฤติกรรมการออมของภาค ครัวเรือนในชุมชนเกาะเปียะ จังหวัดตรัง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร:กรุงเทพฯ.-
dc.identifier.citationธนาคารออมสิน. (2558). ประวัติธนาคารออมสิน. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2563, จาก https://www.gsb.or.th/about-us/history-bank.aspx-
dc.identifier.citationธนาคารออมสิน.(2558). ผลิตภัณฑ์ของธนาคารออมสิน. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2563, จาก https://www.gsb.or.th/personal/student-group-aspx-
dc.identifier.citationบุรินทร์ แสงแก้ว. (2553).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออมของพ่อค้าแม่ค้าในเขตเทศบาลเมืองจังหวัด เชียงราย. รายงานการวิจัยเศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.-
dc.identifier.citationปิยวรรณ เงินคล้าย. (2559). การศึกษาการดำเนินการกองทุนการออมแห่งชาติ รายงานทางวิชาการสำนักงบประมาณของ รัฐสภา ฉบับที่ 4/2559. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2563 . จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/content-ebspa/pbo-report4-2559.pdf-
dc.identifier.citationภาสกร กุลชิต. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของลูกค้า ต่อการให้บริการของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : เชียงใหม่ .-
dc.identifier.citationวันดี หิรัญสถาพร และคณะ.(2558). แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการออม. ค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563, จาก https://www.repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/479/Fulltext.pdf-
dc.identifier.citationวิทยา อินทรพิมล. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย: กรณีศึกษา สาขาในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.-
dc.identifier.citationสรา ชื่นโชคสันต์ และคณะ. (2562). หนี้ครัวเรือนไทย: ข้อเท็จจริงที่ได้จาก BOT-Nielsen Household Financial Survey FAQ Issue 143 ธนาคารแห่งประเทศไทย. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2563 . จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_30Oct2019.aspx-
dc.identifier.citationสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ตารางผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ อนุกรม เวลา 2538-2561 GPP CVMs Time Series Data 1995-2018. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2563 . จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=gross_regional-
dc.identifier.citationสมศักดิ์ ภู่งาม รังสรรค์ สิงหเลิศ สมสงวน ปัสสาโก และเสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร.(2552). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจ ของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขามหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม.วารสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม; ว.มรม., 3 (1), 39-50.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1009-
dc.description.abstractThe purpose of this research study is to study the customers behavior in service of the Government Savings Bank in Suphan Buri province, to study the satisfaction of customers of the Government Savings Bank in Suphan Buri province, and to analysis factor to affect to the customer service for saving of the Government Savings Bank in Suphan Buri province by using questionnaire. The populations are customers who use the Government Savings Bank in Suphan Buri Province approximately at 400 samples. For analysis statistics is percentage, Standard deviation, and the chi square. The results of this research found that the satisfaction of customer is divided to 4 aspects namely; location, service quality, product and staff. In terms of location, it means the highest satisfaction level (ݔҧ = 4.31). In part of the staff, it means the highest satisfaction level (ݔҧ = 4.26). In the use of the service, the satisfaction level is the highest level (ݔҧ = 4.22). And in the product of saving, it means the highest satisfaction level (ݔҧ = 4.24) respectively. For the results of customer behavior, it found that the most customers are old customer around 3-6 month. The frequency service is 5-10 times per month and several services to provide by the Government Savings Bank. The reason to use the service with the bank are the trust in reputation and safety, service and product response, impression in service, proficiency, reply their questions clearly, appropriate fees and benefits, and staff quality respectively which is also related to satisfaction. While the factors affecting to satisfaction among location, service quality, product and staff are gender, age, status, education level, occupation, income, expenses and savings. And the products to use the service are deposit-withdraw, money transfer, ATM card, credit / debit card, lottery of the bank, internet baking and application banking, insurance, check / draft, purchase of investment units and loans / loans which are rely on satisfaction of customer with statistics. As for the savings, it is found that the amount of savings depends on the income and expenditure factors at the significant level of 0.05.en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการของผู้ใช้บริการธนาคารออมสิน จังหวัด สุพรรณบุรี เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการธนาคารออมสิน จังหวัดสุพรรณบุรี และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการ รับบริการด้านการออมเงินของธนาคารออมสิน จังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลุ่มตัวอย่างจากประชากร คือลูกค้าที่มาใช้บริการ ธนาคารออมสิน จังหวัดสุพรรณบุรี และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลนำมาวิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าความพึงพอใจของผู้ที่มาใช้บริการมีต่อ ธนาคารออมสิน จังหวัดสุพรรณบุรีทั้งหมด 4 ด้านดังนี้ ด้านสถานที่มีระดับความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด (􀝔􀒧 = 4.31) ด้านการใช้บริการมีระดับความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด(􀝔􀒧 = 4.22) ด้านผลิตภัณฑ์มีระดับความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์มาก ที่สุด (􀝔􀒧 = 4.24) และด้านพนักงานมีระดับความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด(􀝔􀒧 = 4.26) ในส่วนของพฤติกรรมการใช้ บริการของลูกค้าธนาคารออมสิน จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่ากลุ่มตัวอย่างใช้บริการกับธนาคารออมสินเป็นระยะเวลา 3 – 6 เดือน ความถี่ในการใช้บริการ 5-10 ครั้งต่อเดือน มีการใช้บริการที่หลากหลายฝาก-ถอน โอนเงิน บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต/ บัตรเดบิตสลากออมสิน ประกันภัย เช็ค/ดร๊าฟ ซื้อหน่วยลงทุนและสินเชื่อ/กู้ยืม เหตุผลที่เลือกใช้บริการกับธนาคารโดยใช้ เกณฑ์การตัดสินใจจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยได้แก่ เชื่อมั่นในชื่อเสียงและความปลอดภัย บริการ/ผลผลิตภัณฑ์ตอบสนอง ความประทับใจในการบริการ ความรวดเร็วในการให้บริการ ตอบข้อสงสัยได้อย่างชัดเจน ผลตอบแทนเหมาะสม ค่าบริการ/ ค่าธรรมเนียม ความใส่ใจของพนักงาน มีผู้แนะนำมาใช้บริการ ในขณะที่ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออมและความพึงพอใจ ของกลุ่มลูกค้า คือ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ รายจ่าย และเงินออมมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ ทั้ง 4 ด้านคือด้านสถานที่ ด้านการใช้บริการ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านพนักงาน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับเหตุผลที่เลือกใช้บริการกับ ธนาคารเชื่อมั่นในชื่อเสียงและความปลอดภัย บริการ/ผลผลิตภัณฑ์ตอบสนอง ความประทับใจในการบริการ ความรวดเร็วใน การให้บริการ ตอบข้อสงสัยได้อย่างชัดเจน ผลตอบแทนเหมาะสม ค่าบริการ/ ค่าธรรมเนียม ความใส่ใจของพนักงาน มีผู้แนะ นำมาใช้บริการ ส่วนผลิตภัณฑ์ที่ใช้บริการ ได้แก่ ฝาก-ถอน โอนเงิน บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต/บัตรเดบิตสลากออมสิน ประกันภัย เช็ค/ดร๊าฟ ซื้อหน่วยลงทุนและสินเชื่อ/กู้ยืม ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ใช้บริการมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจทั้ง 4 ด้านคือ ด้านสถานที่ ด้านการใช้บริการ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านพนักงาน ในส่วนของการออมเงินของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ปริมาณเงิน ออมนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านรายได้และรายจ่าย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectGovernment Savings Banken_US
dc.subjectSuphan Buri provinceen_US
dc.subjectSatisfaction of Customers Serviceen_US
dc.subjectSavingen_US
dc.subjectBehavior for using serviceen_US
dc.titleThe Factor Affecting to Customer Service for Saving of Government Savings Bank in Suphan Buri Provinceen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการด้านการออมเงินของธนาคารออมสิน จังหวัดสุพรรณบุรี-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.