Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1007
Title: | Factors Affecting Generation Y’s Usage of MyMo application of the Government Savings Bank in Bangkok ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้แอปพลิเคชันมายโมของธนาคารออมสินของเจเนอเรชันวาย ในกรุงเทพมหานคร |
Authors: | Wongkayay, Peerapol Bejranonda, Somskaow พีระพล วงศ์ขยาย โสมสกาว เพชรานนท์ |
Keywords: | MyMo Application Marketing Mix |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | ธนาคารออมสิน. (2563). ทิศทางการดำเนินงาน ปี 2563. นเรศ หาญพิทักษ์กุล. (2552). การตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. การค้นหว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ปรัชญา ปิยะรังสี. (2554). การเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคในการบริโภคสุราโรงงานกับสุรากลั่นชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ฝ่ายยุทธศาสตร์ธนาคาร ธนาคารออมสิน. (2561). แผนวิสาหกิจธนาคารออมสิน ปี 2562-2566. 1 กุมภาพันธ์ 2563. www.gsb.or.th/getattachment/eadac492-db68-4128-900f-1dc5acb77e12/Doc2.aspx. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (2563). ระบบสถิติทางการทะเบียน. 25 เมษายน 2563. stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php. สาวิตรี แสงสวัสดิ์. (2561). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการฝากเงินกับธนาคารออมสินใน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. TerrBKK. (2562). Where Y? สัดส่วน Gen Y ในประเทศไทย . 30 เมษายน 2563 www.terrabkk.com/articles/191968. UX Research Lab. (2561). Taro Yamane: การกำหนดกลุ่มจำนวนประชากรสำหรับการวิจัย. 9 พฤษภาคม 2563 uxlabth.com/2018/11/26/taro-yamane-การกำหนดกลุ่มจำนวนปร/. |
Abstract: | This study was aimed to examine behaviors and the marketing mix (7Ps) affecting Generation Y’s
usage of MyMo Application (MyMo App) of the Government Savings Bank in Bangkok. The data were
collected with 400 users of Government Savings Bank in Bangkok and analyzed with frequencies,
percentages, means and standard deviations. As a result, the studies show that most samples were
female, average age of 35 years old, mostly single status, bachelor’s degree and worked as government
or state enterprise employees and average income of 20,001 - 30,000 baht per month. Most sampled
users chose to use MyMo App on mobile and download the App via IOS operating system, mostly used
MyMo App more than 15 times per month, between 12.01 - 6.00 p.m., and decided to use MyMo App
service by themselves with the main purpose to transfer money using mobile numbers. The main reason
of using the App was due to its convenience. Most sampled users know MyMo App from Government
Savings Bank’s employees. The sampled users mostly placed importance on the marketing mix (7Ps)
at high levels on Price able to save cost on switching to other banking channels, followed by Place,
Process, Physical evidence, Product, Personnel or staffs and Promotion, respectively. Therefore,
the Government Savings Bank should continuously develop MyMo App to respond to the ever-changing
customers’ behaviors, which will result in continuous and sustainable business. การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการใช้แอปพลิเคชันมายโม ของเจเนอเรชันวายของธนาคารออมสินในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 35 ปี สถานภาพโสด จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ มีรายได้ เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท พฤติกรรมของลูกค้าส่วนใหญ่ใช้งานแอปพลิเคชันมายโมบนโทรศัพท์มือถือ โดยดาวน์ โหลดผ่านระบบปฏิบัติการ IOS มีการใช้แอปพลิเคชันเฉลี่ยมากกว่า 15 ครั้งต่อเดือน ในช่วงบ่ายถึงเย็น (12.01-18.00 น.) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อโอนเงินโดยผ่านหมายเลขโทรศัพท์มือถือ เหตุผลหลักในการใช้บริการ ได้แก่ สะดวกสบาย ซึ่งส่วนใหญ่รับรู้ แอปพลิเคชันมายโมจากพนักงานธนาคารออมสินและตัดสินใจใช้บริการแอปพลิเคชันมายโมด้วยตัวเอง นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับส่วนประสมทางการตลาดในระดับมาก โดยให้ความสำคัญด้านราคา ที่ประหยัดต้นทุน/ค่าใช้จ่ายใน การเดินทางไปทำธุรกรรมผ่านช่องทางอื่น เป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบุคลากรหรือพนักงานและด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ ดังนั้น ธนาคาร ออมสินควรพัฒนาแอปพลิเคชันมายโมอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะ ส่งผลให้ธุรกิจดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1007 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้แอปพลิเคชันมายโมของธนาคารออมสินของเจเนอเรชันวาย.pdf | 198.16 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.