Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/991
Title: | Vehicle Tracking System using Google Map API and LabVIEW ระบบติดตามยานพาหนะด้วย Google Map API ร่วมกับ LabVIEW |
Authors: | Cheunta, Weerasak Chirdchoo, Nitthita Boonprachak, Decha Wanrakchareonrung, Kiattisak วีระศักดิ์ ชื่นตา นิฏฐิตา เชิดชู เดชา บุญประจักษ์ เกียรติศักด์ วันรักษ์เจริญรุ่ง |
Keywords: | vehicle tracking system real-time Internet of things Google map API |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | [1] กุลปริยา นกดี. (2557). การยอมรับเทคโนโลยี GPS Tracking ของบริษัท พี.ที่. ทรานส์ เอ็กซ์เพรส จำกัด.
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. [2] ฐิติวัฒน์ ระวิภาค. (2558). แอพพลิเคชั่นแสดงเส้นทางและข้อมูลลูกค้า Lcased Line Internet บน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์: กรณีศึกษา บริษัท ที่โอที จำกัด (มหาชน) วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. [4] อภิรักษ์ บุตรละ. (2553). การประยุกต์ใช้ Google Map ในการพัฒนาระบบการคำนวณค่ารถ Taxi ในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. [5] National Instruments. (n.d). What is LabVEW?. [ออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.ni.com/en- th/shop/labview.html. (25 เมษายน 2563). [6] Google. (n.d.). Google map platform. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://cloud.google.com/maps-platform. (25 เมษายน 2563). |
Abstract: | This work proposes a development of vehicle tracking system using Google map API and
LabVIEW. The system can perform real-time tracking on vehicle’s speed and location. The system
includes a location detector unit and a server. The location detector unit utilizes a microprocessor
ATmega2560 and a 3G UC20-G extension board. The extension board comes with a GNSS sensor
installed. The location detector unit is used to acquire the current position and other vehicle’s
movement related information (e.g., latitude, longitude, speed and timestamp). This information is then
sent to and recorded at a real-time Google Firebase database. The server with LabVIEW installed
constantly downloads vehicle’s information from Google Firebase database into its SQLite database.
LabView is then used to present and analyze the route, distance and speed of the vehicle on the map
in real-time. The system is able to alert if the speed of any vehicle exceeds the threshold. ในงานวิจัยนี้นำเสนอแนวทางการพัฒนาระบบติดตามยานพาหนะด้วย Google map API ร่วมกับโปรแกรม La6VEW ซึ่งระบบดังกล่าวสามรถแสดงหน้าต่างแผนที่และการเคลื่อนที่ของยานพหนะได้แบบเวลาจริง ระบบดังกล่าว ประกอบไปด้วย ชุดตรวจจับตำแหน่ง ฐานข้อมูล Google Firebase และเครื่องแม่ข่าย ณ สถานีฝ้าระวัง โดยชุดตรวจจับ ตำแหน่งทำหน้าที่ตรวบตำแหน่งและข้อมูลที่เกี่ยวข้องของยานพาหน: นั่นคือ ข้อมูลละติจูด ลองจิจูด ความเร็ว และเวลา ปัจจุบันด้วยเชนเซอร์ GNSS ร่วมกับ 3G UC20-6 และหน่วยประมวลผลไมโครคอนโทรเลอร์ ATmeg02560 ข้อมูลดังกล่าว จะถูกส่งให้กับฐานข้อมูล Fiebase ซึ่งเป็นฐานข้อมูลแบบเวลาจริง จากนั้นเครื่องแม่ข่ายที่สถานีเฝ้าระวังที่ติดตั้งโปรแกรม (0bVEW จะทำการดึงข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายคลาวด์มาเก็บลงฐานข้อมูล SQL ite เพื่อทำการแสดงแผนที่และทำการปักหมุด ตำแหน่งรถในปัจจุบันซึ่งระบบสามารถประมวลผลและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความเร็ว ระยะทางที่รถคลื่อนที่ ระบบดังกล่าว สามรถทำการแจ้งเตือนแบบเวลาจริงเมื่อรถมีการเคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วที่กำหนดไว้ |
Gov't Doc #: | [3] ชัยพร เขมะภาตะพันธ์. (2555). ระบบติดตามตรวจสอบตำแหน่งและเส้นทางรถยนต์ด้วยสัญญาณดาวเทียม. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก http://ibdoc.dpu.ac.th/research/146491.pdf. |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/991 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.