Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/987
Title: The history of the Burney Treaty during the reign of King Rama III
ประวัติความเป็นมาของสนธิสัญญาเบอร์นีย์ในสมัยรัชกาลที่ `3
Authors: Meethong, Dhitiphong
Buapan, Trakan
Suebda, Wutthiphan
Chookeaw, Sittichok
ธิติพงศ์ มีทอง
ตระการ บัวผัน
วุฒิพันธ์ สืบดา
สิทธิโชค ชูแก้ว
Keywords: Treasury
Rama 3
Treaty of Burney
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กิตติ ตันไทย. (2550). ประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์.
ครอว์ฟอร์ด จอห์น. (2515). เอกสารครอว์ฟอร์ด. แปลโดย ไพโรจน์ เกษแม่นกิจ. นครหลวงกรุงเทพธนบุรี: โรงพิมพ์การศาสนาม.
เจ้าพระยาทิพากรวงศ์. (2504). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัซกาลที่ 3 เล่ม 2. พระนคร: องค์การค้าคุรุสภา. (2555).พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัซกาลที่ 1-4. กรุงเทพฯ: ส นักพิมศรีปัญญา.
เบอร์นีย์, เฮนรี. (2514). เอกสารเฮนรี เบอร์นีย์ เล่ม 1. แปลโดย สาวิตรี สุวรรณสถิตย์. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. . (25 16). เอกสารเอนรี เบอร์นีย์ เล่ม 2. แปลโดย สาวิตรี สุวรรณสถิตย์. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
พรทิพา ถาวรสุข. (2533). ความสัมพันธ์ทางการระหว่างไทยไหยกับอังกฤษสมัยรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ (ร.ม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์.
เวลลา, วอเตอร์ เอฟ. (2514). แผ่นดินพระนั่งเกล้า. แปลโดย นิจ ทองโสภิต. พระนคร: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
สายจิตต์ เหมินทร์. (2507). การเลือกรัฐไทรบุรี,กลันตัน,ตรังกานู และปะลิสของไทยให้แก่อังกฤษในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์.
อัมมาร์ สยามวาลา. (2527). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยจนถึง พ.ศ.2484. กรุงเทพฯ: ส "นักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Abstract: This academic paper focuses on the relationship between Thailand politics and economy during the early Rattanakosin period. Especially the Burney Treaty between Thailand and England during the reign of King Rama 3. By studying the history, events, and various factors that led to the decision to make this treaty between Thailand and England. Including the consequences or changes that follow after making the treaty. The results of the study showed that The fact that England needs to enter into a treaty with Thailand is due to political and economic problems. Regarding the determination of influence in the Malay districts and trade through the treasury system. After the said treaty, the stress situation between Thailand and England gradually relaxed. Until Thailand violated the Burney Treaty with England, which led to the subsequent Browning Treaty.
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยเฉพาะการทำสนธิสัญญาเบอร์นีย์ระหว่างไทยกับอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยศึกษาประวัติความเป็นมา เหตุการณ์ ปัจจัย ต่างๆ ที่นำมาสู่การตัดสินใจทำสนธิสัญญาระหว่างไทยกับอังกฤษในครังนี้ รวมไปถึงผลกระทบ หรือการเปลี่ยนแปลงที่ตามมา ภายหลังจากทำสนธิสัญญาดังกล่าว ผลจากการศึกษาพบว่า การที่อังกฤษมีความต้องการที่จะเข้ามาทำสนธิสัญญากับไทยนั้นมี สาเหตุสำคัญมาจากปัญหาทางด้านการเมือง และเศรษฐกิจในเรื่องของการกำหนดอิทธิพลในหัวเมืองมลายู และการค้าผ่านระบบ พระคลังสินค้า ซึ่งภายหลังจากการทำสนธิดังกล่าวแล้วสถานการณ์ความตึงเครียดระหว่างไทยกับอังกฤษจึงค่อยๆผ่อนคลายลง จนกระทั่งไทยได้ทำการละเมิดสนธิสัญญาเบอร์นีย์ที่ได้ทำไว้กับอังกฤษ และนำไปสู่การทำสนธิสัญญาเบาว์ริงในเวลาต่อมา
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/987
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.