Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/978
Title: Guidelines for preserving the wisdom of the guests making rice noodles by Mon people
แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาลงแขกทำขนมจีนของชาวมอญ บ้านพะเนียงแตก ตำบลมาบแค อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
Authors: Saeueng, Pradtana
Pattamasonthi, Kittipon
Yooyatmak, Somruetha
Boonchoo, Prapatchai
Phuangwarin, Latthawit
Topiak, Sichon
กิดติพนธ์ ปัทมะสนธิ
สมฤทัย อยู่ญาติมาก
ประภัสชัย บญชู'
ลัทธวิทย์ พวงวรินทร์
สิชล โตเผือก
ปรารถนา แซ่อึ๊ง
Keywords: Making rice noodles of the Mon
Guidelines for the conservation of Bhumipanya
The tradition of rice noodles
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: งามพิศ สัตยสงวน. (2538). หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.
ตนัย ไซยโยธา. (2543). พัฒนาการของมนุษย์กับอารยธรรมในราชอาณาจักรไทย เล่ม 1. กรุงเทพ : โอเตียนสโตร์.
ธีรพงษ์ สุขพัฒน์. (2538). หนังสือประวัติและประมวลภาพวัตถุมงคล "หลวงพ่อทา". กรุงเทพฯ: ประชุมช่าง จ ากัต.
นิตยา บุญสิงห. (2544). วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
นิยพรรณ วรรณ. (2540). มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม. ภาควิซาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พจนี เทียมศักดิ์. (2543). ปฏิสัมพันธ์ของการเรียนรู้ในชุมชนและโรงเรียน. ปริญญานิพนธ์การศึกษาตุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พัฒนการศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวีโรฒ. พระปลัตเฉลิมพล จารุวณุโณ. (2563, 23 กุมภาพันธ์). สัมภาษณ์ ยศ สันตสมบัติ. (2544). มนุษย์กับวัฒนธรรม. ภาควิชาสังคมวิทยาและมนุษย์ววิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เยื้อง จิตสงบ. (2563, 23 กุมภาพันธ์). สัมภาษณ์ วีระ บ รุงรักษ. (2541). ระบบการวัฒนธรรมและคุณภาพมาตรฐาน. กรมศิลปกรกระทรวงศึกษาธิการ. สบสุข ลีละบุตร. (2543). การมีสวนร่วมของประชาชนทองถิ่นตอการอนุรักษสิ่งแวคลอม กรณีศึกษาเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิซาเทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวตล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิตล.
สุภรณ์ โอเจริญ. (2519). ชาวมอญในประเทศไทย : วิเคราะห์ฐานและบทบาทในสังคมไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนกลางถึง สมัยรัตนโกสินทรต้อนตน. วิทยานิพนธอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต. สขาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลง กรณมหาวิทยาลัย.
สุภรณ์ โอเจริญ. (2533) มอญเสียเมือง. กรุงเทพฯ: เกราะเหล็ก.
องค์ บรรจุน. (2552). ต้นธาร วิถีมอญ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นดิ้งแอนด์พับลิสซิ่ง. (2558). 40 ปี ชมรมเยาวช่นมอญกรุงทพ วิถีไทยมอญในสังคมร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: แทนคุณแอตวานซ์ จ ทัด.
ลิสา รามโกมุท. (2556). วิถีชีวิตชาวมอณูกาะเกร็ด เตาเผาโบราณ : เปรียบเทียบระหว่างเตาหลังเต่าที่เกาะเกร็ดกับเตา ทุเรียงที่เมืองศรีสัชนาลัย. กรุงเทพฯ: ไอเดีย สแควร์.
อรรถพล อนันตวรสกุล. (2549). วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ปาเจรา.
อาริสา อาภาภัย. (2547). อิทธิพลของทำนองเพลงมอญที่ปรากฎในเพลงไทยสากล. วิทยานิพนธปริญญาศิลปะศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิซาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิตล.
Abstract: The purpose of this research is 1.) to study the wisdom of rice noodles of the Mon. Paniang Tae House, Map Khoe Subdistrict, Mueang Nakhon Pathom District Nakhon Pathom Province 2.) To analyze the factors offecting the changes of the traditional Chinese rice cakes by Mon people Paniang Tae House, Map Khae Subdistrict, Mueang Nakhon Pathom District Nakhon Pathom province and 3.) to study the guidelines for conservation Guest-making wisdom of Mon noodles Paniang Tae House, Mop Khae Subdistrict, Mueang Nakhon Pathom District Nakhon Pathom Province By collecting relevant information, the study has determined that it is consistent with the quality education method. Study from relevant information And the data collection area From the research, it is found that the factors that affect the change of wisdom of Khom Kanom Jek are the first factor in the changing economy, becoming a community that focuses on external capitalism. The second factor is in the field of technological change. The third is the factor of social change of the people in the community that have changed. And the last factor in the absence of future generations to inherit the tradition of Kanom Jeen Thai cuisine. Therefore, the conservation guidelines Kanom Jeen low-priced wisdom is the transfer of wisdom to future generations in Ban Paniang Toe community. The public relations tradition of Kanom Jeen Khaogang pounding tradition in every dimension And the application of technology to match the wisdom of Kanom Jeen Thai dessert in Ban Panang Taek, without the traditional wisdom disappearing
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการทำขนมจีนของชาวมอญ บ้านพะเนียงแตก ตำบลมาบแค อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 2.) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิปัญญาลงแขกทำขนมจีนของ ชาวมอญ บ้านพะเนียงแตก ตำบลมาบแค อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม และ 3.)เพื่อศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาลงแขกทำขนมจีนของชาวมอญ บ้านพะเนียงแตก ตำบลมาบแค อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม โดยการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องนั้นผู้ศึกษาได้กำหนดให้สอดคล้องกับวิธีการศึกษาในเชิงคุณภาพ ทำการศึกษาจากข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล จากผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิปัญญาลงแขกตำขนมจีน คือ ปัจจัยแรกในเรื่องเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปกลายเป็นชุมชนที่เน้นทุนนิยมจากภายนอกมากยิ่งขึ้น ปัจจัยที่สอง คือ ในด้านของ การเปลี่ยนแปลทางเทคโนโลยี ปัจจัยที่สาม คือ ปัจจัยในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมของคนในชุมชนที่เปลี่ยนไป และปัจจัยสุดท้ายในด้านของการที่ไม่มีคนรุ่นหลังจะสืบทอดประเพณีลงแขกตำขนมจีน ดังนั้น แนวทางในการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาลงแขกตำขนมจีน คือ การถ่ายทอดภูมิปัญญาให้แก่คนรุ่นหลังในชุมชนบ้านพะเนียงแตก การประชาสัมพันธ์ ประเพณีลงแขกตำขนมจีนบ้านพะเนียงแตกในทุกมิติ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เข้ากับภูมิปัญญาลงแขกตำขนมจีนของ บ้านพะเนียงแตกโดยที่ภูมิปัญญาดั้งเดิมมิสูญหายไป
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/978
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.