Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/975
Title: | Conservation guidelines for hand-woven fabrics of U Thong, Ban Wang Thong Chorakhe Sam Phan Sub-district, U Thong District, Suphan Buri Province แนวทางการอนุรักษ์ผ้าทอมีออู่ทองบ้านวังทอง ตำบลจรเข้สามพัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี |
Authors: | Attanate, Konwatchara Suriyawong, Kusuma Sriamchan, Juthamas Roopsom, Rukchat Wilunpan, Maneerat Yaemklai, Sunisa Saeueng, Pradtana กลวัชร อัตเนตร์ กุสุมา สุริยวงศ์ จุฑามาศ ศรีเอี่ยมจันทร์ รักชาติ รูปสม มณีรัตน์ วิรุณพันธ์' สุนิสา แย้มคล้าย ปรารถนา แซ่อึ๊ง |
Keywords: | hand woven cloth Ban Wang Thong Preservation |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กัลยา ปทุมสูติ. (2563, 26 คุมภาพันธ์). สัมภาษณ์. ประเวศ วะส. (2530). ภูมิปัญญาไทยและศักยภาพของชุมชน ปัญหาต้านวิกฤตสู่ทางรอต.กรุงเทพฯ : หมู่บ้าน ภัทรวดี อัศลา. (2558). ธีการอนุรักษ์ผ้าไหมมัดหมี่ของชาวบ้านห้วยแคนอ าเอกุตรังจังหวัดมหาสารคาม. ขอนแก่น : วิทยาสัยการปกครอง งท้องถิ่น มหาวิทยาลัยชอนแก่น. วิบูลย์ สี้สุวรรณ. (2532). เครื่องจักสานในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ศักดิ์ชัย เกียรตินาศินทร์. (2542). ภูมิปัญญาชาวบ้าน ยาชุตวิเศษในการพัฒนา. วารสารวัฒนธรรมไทย. 36(9) : 2-4 สามารถ จันทร์สูรย (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้าน ใน ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่ม 1. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ อมรินทร์พ พริ้นดิ้งกรุพ. อัจฉรี จันทมูล(2559) ภูมิปัญญาในการผลิตผ้าไหมมัดหมี่ผู้ไท The Wisdorn of Phuthai-Mudmee Sik in cloth Production in Kalasin Province, สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน , 2563 จากhttp://www.journal.msu.ac.th/ upload/articles/article1518 83478.pdf |
Abstract: | The research of hand-woven fabric. The purpose of this study were : 1)to examine knowledge of
hand-woven fabric 2)to find the conservation guidelines 3)to examine the problems and obstacles
affecting conservation of hand-woven fabric. From studies and interviews can be discussed according to
objectives in 5 ways. The guidelines for preserving local knowledge of hand-woven fabric 1. Promoting the
wisdom of the villagers to be a leader in conservation 2. Inheriting the inheritance to the next generation
3. Raising the awareness of the people in the community to see the value 4. Promoting occupations And
income of the community 5. Knowledge management and research Data collection was done by studying
and collecting from U-Thong hand-woven group and from documents such as books, journals, researches
and important documents. Including in-depth interviews and questions on villagers in the study area
The results showed that local wisdom of Ban Wang Thong community, with a history of over 200
years, community sages, villagers Children of the community Government agencies that help promote the
conservation of hand woven fabric in Ban Wang Thong community regarding traditional and applied
patterns. In conclusion, local knowledge is important and worthy of conservation. This conservation does
not only rely on the cooperation of the local people. Promoting to become an OTOP product Which
makes it a more well-known product Including supporting the establishment of local museums or
community museums To show the state of life and the history of the community การศึกษาวิจัย เรื่อง "แนวทางการอนุรักษ์ผ้าทอมืออู่ทองบ้านวังทอง ตำบลจรเข้สามฟัน อำเภออู่ทอง จังหวัด สุพรรณบุรี" โดมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษาภูมิปัญญชองผ้าทอมืออู่ทองบ้านวังทอง ตำบลจรเข้ สามฟัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 2.เพื่อหาแนวทางอนุรักษ์ผ้าหอมืออู่ทองบ้านวังทอง ตำบลจรเข้สามฟัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 3. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรค์ที่มีต่อการอนุรักษ์ผ้าทอมีออู่ทองบ้านวังทอง ตำบลจรเข้สามฟัน อำเภอยู่ ทอง จังหวัดสุพรรณบุโดยจากผลการศึกษาและการสัมภาษณ์สามารถนำมาอภิปรายตามวัตถุประสงค์ได้ทั้งหมด 5 แนวทาง 1. การเสริมสร้างปราชญ์ชาวบ้านให้เป็นผู้นำในการอนุรักษ์ 2. การสืบสานสืบทอดไปสู่คนรุ่นต่อไป 3. การปลุกจิตสำนึกซอง คนในชุมชนให้เห็นคุณค่า 4. กรส่งเสริมให้เกิดอาชีพ และรายได้ของชาชุมชน 5. การจัดการความรู้และการศึกษาวิจับ การ เก็บรวบรวมชัมูลกระทำโตยศึกษาและเก็บรวบรวมจากกลุ่มผ้าทอมืออู่ทองและจากเอกสาร ได้แก่ หนังสือ วารสาร งานวิจัย และเอกสารสำคัญ รวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึก (n - depth interiew) และการสอบถามกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่ที่ศึกษา ผลวิจัยพบว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนบ้านวังทองที่มีประวัติความเป็นมาอายุกว่า200 ปี ชาวชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ลูกหลานชาวชุมชน หน่วยงานของภาครัฐที่ช่วยส่งสริมสนับสนุนการอนุรักษ์ผ้าทอมือชุมชนบ้านวังทองในเรื่องสวดลายตั้งเดิม และลายประยุกต์ สรุปได้ว่าภูมิบัญญาห้องถิ่นนั้นเป็นสิ่งสำคัญและควรค่าแก่การอนุรักษ์ โดยกา ารอนุรักษ์นี้ไม่เพียงแต่อาศัย ความร่วมมือของคนในท้องถิ่น ส่งสริมให้กลายเป็นสินค้า OTOP ซึ่งทำให้ได้เป็นสินคำที่รู้จักมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสนับสนุนให้มี พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหรือพิพิธภัณฑ์ชุมชนขึ้น เพื่อแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมาของชุมชน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/975 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
แนวทางการอนุรักษ์ผ้าทอมืออู่ทองบ้านวังทอง.pdf | 156.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.