Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNgamyingyong, Nittaya-
dc.contributor.authorManilam, Phanuwat-
dc.contributor.authorChurod, Orawan-
dc.contributor.authorนิตยา งามยิ่งยง-
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ มณีล่ำ-
dc.contributor.authorอรวรรณ ชูรอด-
dc.date.accessioned2021-05-16T03:45:02Z-
dc.date.available2021-05-16T03:45:02Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationฟิลิป คอตเลอร์. (2546). ส่วนประสมทางการตลาด. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก http://passakorn2326.blogspot.com/2017/02/-
dc.identifier.citationวิกิฬเดีย สารานุกรมเสรี. (2553). แนวคิตการวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis. ต้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก http://it.nation.ac.th/studentresearch/files/55091392.pdf-
dc.identifier.citationวิคิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2553). แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก http://ww researchsystem.siam.edu/images/coop._HT /07 _ch2.pdf-
dc.identifier.citationรสสุคนธ์ แย้มทองคำ และคณ.. (2561). โครงการแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการตลาดสินค้าเกษตรปลอภัยแบบมี ส่วนร่วม: กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก file:///C:/Users/poomp/OneDrive/เอกสาร/อันนี้.pdf-
dc.identifier.citationรัชนีกร ปัญญา. (2560). การวิจัยเพื่อพัฒนาตลาตสินค้าเกษตรของชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ให้มีศักยภาพการแข่งขันใน อาเชียนค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก http://www.research.cmru.ac.th/research59/ris/view.php?no=783-
dc.identifier.citationอารตา เทพณรงค์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลสำร็จต่อการลงทุนเลี้ยงกุ้งก้ามกราม: กรณีศึกษาอำเภอปลาม้า จังหวัต สุพรรณบุรี. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU 2016 58 4095.pdf-
dc.identifier.citationสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร. (2553). สถานการณ์ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563. จาก http://www.arda.or.th/kasetinfo/south/shrimp/trends-
dc.identifier.citationฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2557). การส่งเสริมการตลาด (Promotion). ต้นเมื่อ 24 มกราคม2563. จาก http://mslib.kku.ac.th/elib/books/Tourism2559/AUEEND00%20PHAKSUB-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/973-
dc.description.abstractThe objective of this research is to 1) to study the marketing channel for the white shrimp business in Nakhon Pathom Province 2) to measure the marketing efficiency of the white shrimp business in Nakhon Pathom Province The research model is a qualitative research. The population is white shrimp farmers in Bang Khaem subdistrict. Mueang Nakhon Pathom District Nakhon Pathom Province Sample Were 6 white shrimp farmers using specific selection methods. There are selection criteria which are the owner of the farm Have more than 2 years of experience and have an area of 2 rai or more in shrimp farming. Data were collected using Structured Interview, data analysis by Content Analysis, Data Organizing. Data display and the results show that The results showed that 1) Shrimp farmers have only distributed one white shrimp channel offline channels and 2) Offline distribution channels are more effective than online distribution channels. Because it is more efficient in transportation and distribution than online sales, farmers do not need to store shrimp or store shrimp for sale online because shrimp is a short-lived product. Although offline product flows have longer lines than online, the offline product performance is more consistent and consistent than online products. From the Swot Analysis, it is found that farmers' strengths are stable customer groups, weak points, single-channel income Lack of new knowledge in shrimp sales. Opportunity is that government agencies come to help and support the obstacles, namely the economic slowdown. And being pressured by middlemenen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาช่องทางการตลาดสำหรับธุรกิจกุ้งขาวจังหวัตนครปฐม 2) เพื่อวัต ประสิทธิภาพช่องทางการตลาดสำหรับธุรกิจคุ้งขาวจังหวัดนครปฐม รูปแบบวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประชากรคือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวในตำบลบางแขม อำเภอเมืองนรปฐม จังหวัตนครปฐม กลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวจำนวน 6 คน ใช้วิธีกรคัตเลือกแบบเจาะจง มีเกณฑ์การศัตเลือก ได้แก่ การเป็นเจ้าของฟาร์ม มี ประสบการณ์มากกว่า 2 ปีขึ้นไป และมีพื้นที่ในการเลี้ยกุ้ง 2 ไร่ขึ้นไป เก็บรวบรมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) วิเคราะห์ข้อมูลโตยคารการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การจัตระเบียบข้อมูล (Data Organizing) การแสดงข้อมูล (Data Display) และผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งมีการจัดจำหน่ายกุ้งขาวเพียงช่องทางออฟไลน์ช่องทางเตียว และ 2) ช่อง ทางการจัดจำหน่ายออฟไลน์มีประสิทธิภาพมากกว่าช่องทางกรจัดจำหน่ายฮอนไลน์ เพราะมีประสิทธิภาพในการขนส่งและ การกระจายสินค้ามากกว่า การขายผ่านช่องทางออนไลน์โตยที่กษตรกรไม่ต้องจัดเก็บกุ้งไว้หรือกักตุนกุ้งไว้ขายสำหรับออนไลน์ เพราะกุ้งเป็นสินค้าอายุสั้น ถึงแม้การไหลของสินค้า (Product flow) แบบออฟไลน์จะมีสายที่ยาวกว่าออนไลน์แต่ ประสิทธิภาพของสินค้าแบบออฟไลน์มีความต่อเนื่องและสม่ำเส มากกว่าสินค้าแบบออนไลน์ จากการวิเคราะห์สวอต (Swot Analysis) พบว่าจุดแข็งขอ งเกษตรกร คือ มีกลุ่มลูกค้าที่แน่นอน จุดอ่อน คือ มีรายไต้ช่องทางเดียว การขาตองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในการขายกุ้ง โอกาส่ คือ มีหน่วยงานราชการเข้ามาช่วยเหลือและสนับสนุน อุปสรรค คือ เศรษฐกิจชะลอตัว และการถูกกต ราคาจากพ่อค้าคนกลาง-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectWhite shrimp farmersen_US
dc.subjectOffline marketingen_US
dc.titleGuidelines for the development of marketing channels for white shrimp business in Nakhon Pathom provinceen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาช่องทางการตลาดสำหรับธุรกิจกุ้งขาวจังหวัตนครปฐม-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.