Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/967
Title: | Increasing Income by Production Efficiency for Exports of Ready-made Garments Businesses in Bangkok. การเพิ่มรายได้จากประสิทธิภาพการผลิตเพื่อส่งออกของธุรกิจเสื้อผ้าสำเร็จรูปใน กรุงเทพมหานคร |
Authors: | Panthong, Saiphin สายพิณ ปั้นทอง |
Keywords: | Garments Productivity Increasing revenues |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | การดี เลียวไพโรจน์ และภูมิพร ธรรมสถิตเตช. (2555). รายงานวิจัยเรื่อง แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาตกลางและ
ขนาดย่อมรายสาขา อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาตกลางและขนาดย่อม.
ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2562 จาก
http://www.oic.go.th/FLLEWEB/CABIN FOCENTER2/DRAWE R039/GENE RAL/DATA0000/00000020.PDF ชูชีพ เอื้อการณ์. (2557). แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอไทยเพื่อการแข่งขันระดับโลก. วารสาร บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 8 (1), 35-50. ธีรวัช บุณยโสภณ. (2558). แนวคิดในการพัฒนาธุรกิจอุดสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ. วารสารวิชาการพระจอมเกล้ำพระ นครเหนือ, ปีที่ 25 (ฉบับปีที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2558), 325-336. ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก ธนาคารออมสิน. (2561). อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องแต่งกายปี 2561- 2562. ต้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2561 จาก https://www.gsb.or.th/getattachment/2a4c817b-139b-4365-87af- 18ab459bdd84/textile 61 62.aspx สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย. (2561). สมาชิกผู้ผลิตสมาคม เครื่องนุ่งห่มไทย, คันเมื่อ 20 ธันวาคม 2561 จาก https://www.thaigarment.org/member-list/member-products/ สายพิณ ปั้นทอง. (2561). ตัวแบบประสิทธิภาพการจัดการของอุตสาหกรรมฟอกย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวตล้อมในประเทศ ไทย.ตุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาตุษฎีบัณฑิต สาขาวิซาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม. สำนักงานเศรษฐกิจอุดสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2561). รายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ปี 2561 และ แนวโน้ม ปี 2562. ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2561 จาก htp://www.oie.go.th/academic/รายงานภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมปี%202561%20และแนวโน้มปี9202562 อัจฉราวรรณ งามญาณ. (2555). อันเนื่องมาแต่สูตรของยามาเน่. วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, 34(131),46-60. Schermerhorn. J. R. (1999). Management (5th ed.). USA: John Wiley and Sons. Sekaran, Uma. (2003). Research Methods for Business. (4th ed.). United Stated of America: John Wiley & Sons. |
Abstract: | This research aims to: 1) to study the level of factors affecting the increase in production income
for exports of the ready-made clothing business, 2) study the efficiency of the revenue increase in the
garment export, and 3) compare the factors that affect revenue increase of garment export in Bangkok
classifying by personal factors and organization size. The research determined the sample size using the
formula for determining the sample size of the Taro Yamane. Defined the sampling error level of .05 from
a population of 261 people, receiving 157 samples. The data were analyzed using basic statistics including
percentage, arithmetic, and standard deviation. In addition, ANOVA one-way (one-way analysis of variance)
test and post-hoc analysis based on the test results Homogeneity of variance were applied for theresearch analysis. The research hypothesis testing found that the comparison of employee opinions about
the factors that affect the cost of garments production based on personal factors; including age,
educational level, monthly income, job position, and organization factors; including organization size and
duration of operation, were different and statistically significant at the .05 level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มรายได้การผลิตเพื่อส่งออกของ ธุรกิจเสื้อผ้าสำเร็จรูป 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการเพิ่มรายใด้ในการผลิตเพื่อส่งออกของธุรกิจผ้าสำเร็จรูป และ 3) เพื่อ เปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มรายได้ในการผลิตเพื่อส่งออกของธุรกิจเสื้อผ้าสำเร็จรูปในกรุงเทพมทานคร จำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล สถานประกอบการ แยกตามปัจจัยส่วนบุคคลและขนาตองค์การ การวิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโตยใช้ สูตรการหาขนาตกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane กำหนตระตับความคลาดเคลื่อนในการสุ่มตัวอย่างเท่ากับ .05 จาก ประชากร 261 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง 157 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่า ร้อยละ คำเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเตี๋ยว (One-way analysis of variance) ทตสอบรายคู่ภายหลัง (post-hoc analysis โตยพิจารณาจากผลกรทตสอบ Homogeneity of variance จาก การทตสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริทารต้นทุนการ ผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป ด้านอายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ตำแหน่งงาน ระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจ และขนาดสถาน ประกอบการ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระตับ .05 |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/967 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ธุรกิจเสื้อผ้า.pdf | 211.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.