Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/964
Title: Thai - Burma Railway During the Greater East Asia War
ทางรถไฟสายไทย - พม่า ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา
Authors: Nualhom, Wanlee
Saeaueng, Pacharapon
วัลส นวลหอม
พชรพล แซ่อี้ง
Keywords: the Greater East Asia War
Thai - Burma Railway
Empire of Japan
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: การรถไฟแห่งประเทศไทย(2540). การสร้างทางรถฟทหารติดต่อระหว่างประเทศไทย-พม่าในช่วงสงครามมหาเอเชีย บูรพา.กรุงเทพมหานคร : กองประชาสัมพันธ์ ส นักผู้ว่าการ การรถไฟแห่งประเทศไทย
เกริกฤทธิ์ เชื้อมงคล(2558). เมื่อสยามเข้าสู่สงครามโลก.กรุงเทพมหานคร : ส หันักพิมพ์สยามความรู้
ติเรก ชัยนาม (2560). ไทยกับสงครามโลกครั้งที่2(พิมพ์ครั้งที่5).นนทบุรี : ส นัพิมพ์ศรีปัญญา
นากามูระ อาเคโตะ (2546). ผู้บัญซาการชาวพุทธบันทึกความทรงจ 'ของทยพลนากามูระเกี่ยวกับเมืองไทยสมัย สงครามมหาเอเชียบูรพา (พิมพ์ครั้งที่2)กรุงเทพมหานคร : ส นักพิมพ์มติซน
ปรีชา ศรีวาลัย,ศ.พล.อ.ต.(2546). สงครามโลกครั้งที่2(พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพมหานคร : สำ นักพิมช็อเตียนสโตร์
พวงทิพย์ เกียรติสหคุณ ตร. (2554), ทางรถฟสายใต้ในเงาอาทิตย์อุทัย.นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์
วรวุธ สุวรรณฤทธิ์,ผศ (2554). สงครามมหาเอเชียบูรพา(พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพมหานคร : นักหิมพ์โอเดียนสโตร์
ศนิโรจน์ ธรรมยศ.พ.อ (2561), สงครามโลกครั้งที่2.กรุงเทพมหานคร : ส นักพิมพ์ยิปซี
สรศัลย์ แห่งสภา(2558). สงครามมืต วันญี่ปุ่นบุกไทย(พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพมหานคร : สำ นัพิมพ์สารคดี
หลวงวิจิตรวาทการ,พลตรี (2558). ประวัติศาสตร์สากล.รุงเทพมหานร : ส นัภพิมพ์แสงตาว
อัศวิน โกมลเมนะ (2550). ไม้หมอนแห่งความตายบนเส้นทางรถฟสายมรณะ(พิมพ์ครั้งที่9).กรุงเทพมหานคร : เอ็น เอส พี พริ้นติ้ง กรุ๊ป
Abstract: This academic article focuses on the history of the construction of the Thai-Burma railway During the Greater East Asia War which was the same event as World War 2 Found that during the said time. The Thai government under the leadership of Field Marshal Plaek Phibunsongkhram Became an ally to the Empire of Japan in a joint war with the Allies. In which Thailand has been used as a base for transporting consumables to the front lines in India Via the newly built international railway from the Nong Pladuk Junction In Thailand Arrive at Thanbyuzayat Station. In the Burmese area for a total of 415 kilometers via the Bridge on the River Kwai , Thamkrasae Bridge , Three Pagodas Pass Arrive at the destination station After the Empire of Japan lost the war. The route has been sold to the Thai government for commercial passenger and freight transportation. But the maintenance of the said route is difficult, causing some parts to be dismantled, resulting in the present Thai-Burma railway End at Nam Tok Sai Yok Noi
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาประวัติศาสตร์ของการสร้างทางรถไฟสายไทย-พม่า ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นเหตุการณ์ดียวกับสงครามโลกครั้งที่ 2 พบว่าในช่วงเวลาดังกล่าว ฐบาลไทยภายใต้การนำของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้เป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในการร่วมกันทำสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งประเทศไทยได้ถูกใช้เป็นฐานลำเลียง ยุทธปัจจับไปสู่แนวหน้าในประเทศอินเดีย ผ่านทางรถฟระหว่างประเทศที่สร้างขึ้นใหม่ตั้งแต่สถานีชุมทางหนองปลาคุก ในเขต ประเทศไทย ถึงสถานีทันบูชายัต ในเขตประเทศพม่า รวมระยะทาง 415 กิโลเมตร ผ่านสะพานข้ามแม่น้ำแคว สะพาน ถ้ำกระแช ด่านพระเจดีสามองค์ ถึงสถานีปลายทาง ภายหลังจากจักรวรรดิญี่ปุ่นแพ้สงครามเส้นทางดังกล่าวถูกขายให้กับ รัฐบาลไทยเพื่อการโดยสารเชิงพาณิชย์และการขนส่งสินค้า แต่การบำรุงเส้นทางตังกล่าวเป็นไปอย่งยากลำบากทำให้ต้องมี การรื้อเส้นทางออกไปบางส่วน ทำให้ปัจจุบันทางรถฟสายไทย-พม่า สิ้นสุดที่ป้ายหยุดรถน้ำตกไทรโยคน้อย
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/964
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.