Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/937
Title: The satisfaction of teachers with the school management of the school administrators. Under the Suan Luang District, Bangkok Metropolis
ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารจัดการสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
Authors: Parnpinid, Anattaporn
Silanukit, Chonmanee
อนัฐพร พานพินิจ
ชนมณี ศิลานุกิจ
Keywords: Satisfaction School Management
The School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ธนาพร มนัสมัญชุตภา. (2560). ความพึงพอใจของครูต่อการจัดการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลนคร สมุทรสาคร. ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นรมน ขันตี. (2561). การศึกษาบทบาทการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานใน จังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี.
เบญจพร สุทธิทน. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการจัดการศึกษาโรงเรียนราชวินิตมัธยม สังกัดสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร. ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2551). หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพฯ: สหมิตรออฟเซท พิณชุดา ชื้อมีชัย. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของครู ต่อการบริหารจัดการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนสตรี สมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 6. ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. รจนาพร เอื้อสลุง. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน ระดับประถม ศึกษาขนาดใหญ่ในสานักงานเขตลาดกระบัง สังกัดกรุงเทพมหานคร. ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ป
ศิริลักษณ์ ประชากุล. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่ม 2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.ค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพมหานคร : สำนักนายกรัฐมนตรี.
Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K. (2011). Research methods in education (7th ed.). New York: Routledge ป
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York: Harper Collins.
Abstract: The purpose of this research was to study and compare the level of teachers' satisfaction with school management. Of school administrators Under the Suan Luang District, Bangkok Metropolis. Classified by educational background And work experience. The sample group used in this research was 162 teachers taught at educational institutions under the Suan Luang District Office of Bangkok in 2019. The researcher used the Cohen preparation method to obtain 162 samples. Use the data to compare the classes and present information that is comparable to the trilogy. The content validity was between .06 - 1.00 and the reliability was evaluated by using Cronbach's alpha coefficient formula to get the reliability equal to .91. The statistics used in this research were frequency distribution, percentage, mean value. Standard deviation, value and one-way analysis of variance. Findings are as follows: 1) The teachers were satisfied with the school management of the school administrators. Under the Suan Luang District, Bangkok Metropolis, In overall and in each aspect at a high level. 2) Teachers with educational background And different work experience Satisfied with the school management of the school administrators. Under the Suan Luang District, Bangkok Metropolis, In which the overall picture and each aspect are not different
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารจัดการ สถานศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามวุฒิการศึกษา และ ประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ครูที่สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 162 คน ซึ่งผู้วิจัยใช้วิธีการเปิดตารางสำเร็จรูปของโคเฮ็น ได้ตัวอย่างจำนวน 162 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยใช้โรงเรียนเป็นชั้นและและนำข้อมูลมาเทียบบัญญัติไตรยางศ์ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาระหว่าง .06 – 1.00 และหา ค่าความเชื่อมั่นใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่า ของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การแจก แจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที่ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิการศึกษา และประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการ บริหารจัดการสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/937
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.