Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/931
Title: Development of Animation Interactive Instruction with Project-based Learning for Grade 6 Student of Banthamaka School
การพัฒนาสื่อการสอนแอนิเมชันแบบปฏิสัมพันธ์ร่วมกับรูปแบบการสอนโครงงานเป็นฐาน วิชา คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่ามะกา
Authors: Sungtong, Kanidta
Srichailard, Uraiwan
ขนิษฐา สังข์ทอง
อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ
Keywords: Teaching Animation
Interaction
Project-based Learning
Computer
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กฤษณพงค์ เลิศบำรุงชัย. (2558) สร้าง Responsive Learning ด้วย Adobe Captivate 8. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ 2 อินเตอร์แอคทีฟมัลติมีเดียพิมพ์ครั้งที่ 1: กรกฎาคม 2558)
ดุษฎีโยเหลาและคณะ (2557: 19-20) การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานค้นจาก https://bit.ly/2orE85B
ธรรมศักดิ์เอื้อรักสกุล. (2547) การสร้างภาพยนต์ 20 อนิเมชั่นพิมครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: มีเดียอินเทลลิเจนซ์เทคเทคโนโลยี
พรรณิภา แสนพรม, และ ปถมาภรณ์ ไทยโพธิ์ศรี (2562) ผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับการเรียนรู้แบบ โครงงานเป็นฐานเรื่องการใช้งานโปรแกรม Photoshop สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา (สมัครพลผดุง) ในการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมครั้งที่ 5 มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
วณิชญา จำปา, และอุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ. (2562). การพัฒนาสื่อแอนิเมชั่น 2 มิติร่วมกับทฤษฎีสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 5 (พหลโยธินรามินทรภักดี) ในงานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 นครปฐม:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วัชรพล วิบูลยศริน. (2557). หลักการออกแบบการสอนบนเว็บตามแบบจำลอง ADDIE เพื่อการสอนสนทนาภาษาเบื้องต้นสำหรับชาวต่างชาติ. วารสารวารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6 (12), 192-205.
สิษฐ์ ทองงาม. (2555). การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม. สืบค้น 20 มีนาคม 2562, https://krOopisit.wordpress.com
สุรพงษ์ คงสัตย์, และ ธีรชาติธรรมวงค์ (2551) การหาค่าความเที่ยงตรงของเบบสอบถาม (CO. สืบค้น 20 มีนาคม 2552 pin http://www.mcu.ac.th
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 กรุงเทพฯ:สำนัก
อาลิสา สายทอง, คุณอานันท์ นิรมล, และ กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์ (2560). กลการพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชันสองมิติเรื่องกระบวนการในการดำรงชีวิตของพืชกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 11 (1), 159-171.
อดิศร ก้อนคำ. (2552) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. สืบค้น 10 สิงหาคม 2562, จาก http: //www.kookannokcom
Abstract: The purposes of this research study were: 1) to development of animation interactive instruction with project-based learning for grade 6 student of banthamaka school. 2 ) to determine the efficieantly of instruction developed. 3 ) to compare student achievement before and after learning of the students studying media animation interactive instruction. 4) to the satisfaction of students with the instruction and project-based learning. The sample used students at 32 in the grade 6/1 was selected by simple random method. The instrument used for this research 1) Animation interactive instruction with projectbased learning for grade 6 student. 2) Achievement test. 3) Satisfaction statistics used in this study were mean, standard deviation, percent t-test dependent. The results showed that: 1 ) Animation interactive instruction with project-based learning was efficieantly 83.43/80.20 which higher than 80/80 2). Achievement posttest ( =24.06, S.D.=2.25) higher than previous ( =13.03, S.D.=1.55) that significant at the statistical level .05 3) Satisfaction of learners with animation interactive instruction at a good level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อการสอนแอนิเมชันแบบปฏิสัมพันธ์ร่วมกับรูปแบบการสอนโครงงานเป็นฐานวิชาคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่ามะกา 2) หาประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่พัฒนาขึ้น 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยสื่อการสอนแอนิเมชันแบบปฏิสัมพันธ์ที่พัฒนาขึ้น 4) หาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการสอนแอนิเมชันแบบปฏิสัมพันธ์ร่วมกับรูปแบบการสอนโครงงานเป็นฐานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 32 คนโรงเรียนบ้านท่ามะกาการเลือกกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) สื่อการสอนแอนิเมชันแบบปฏิสัมพันธ์ร่วมกับรูปแบบการสอนโครงงานเป็นฐานวิชาคอมพิวเตอร์ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานร้อยละและ T-test Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) สื่อการสอนที่พัฒนาขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดี 2) ประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีค่าเท่ากับ 8.3.43 / 80.20 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (A-24.06, S.D. -2.25) สูงกว่าก่อนเรียน (X = 13.03, S.D. = 1,55) อย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการสอนอยู่ในระดับดี
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/931
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
0000.pdf454.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.