Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/930
Title: Holistic health Care for Elders in Community Based on the Concept of Active aging
Authors: Chanburee, Suphatida
Thanomsat, Kamollabhu
ศุภธิดา จันทร์บุรี
กมลภู ถนอมสัตย์
Keywords: elderly
community
holistic health care
active aging
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2551). แนวคิดเกี่ยวกันองค์รวมยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก http/ww.dip.so.th/images/highlight/holisticjpg.
กรรณิกา ปัญญาวงค์ และพนัส พฤกษ์สุนันท์. (2555). เอกสารประกอบการเรียนวิชาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม. สมุทรสงคราม: คณะศิลปะศาสตร์ สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน.
กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2556). รายงานการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุ ไทยปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ. กรุงเทพฯ:วัชรินทร์ พี.พี
เกสร มุ้ยจีน. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อระดับสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23 (2), 306-318.
จินตนา อาจสันเที๊ยะ และ พรนภา คำพราว. (2557) รูปแบบการดูแลสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 15 (3), 123-127.
ฐาณญา สมภู่ และคณิต เขียววิชัย. (2562). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมภาวะพฤฒิพลังของชมรมผู้สูงอายุไทย. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 12 (1), 35-45.
นัยนา พิพัฒน์วณิชชา. (2555). การพยาบาลผู้สูงอายุที่สูญเสียการได้ยิน. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 32 (3), 67-76. ปัทมา ล้อพงค์พานิชย์. (2560) ผู้สูงอายุที่มีความพิการ: การเข้า (ไม่) ถึงสวัสดิการสังคม Elderly people with disabilities: Accessible (Inaccessible) to social welfare. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35 (3), 22-30. วรเวศม์ สุวรรณระดา, วิราภรณ์ โพธิศิริ, ศิริวรรณ ศิริบุญ, ศริน บางแก้ว และชเนตตี มิลินทางกูร (2557). รายงานการศึกษา โครงการการประเมนผลการดำเนินงานโครงการขยายผลอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยประชากรศาสตร์อาคารวิศิษฐ์ประจวบเหมาะจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิรดา อรรถเมธากุล และวรรณี ศรีวิลัย. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 7 (2), 18-28. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์ และสุภาวดี เที่ยงธรรม. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำาวันของผู้สูงอายุในชุมชนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อต่ำ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 38 (2), 110-123. มาสริน ศุกลปักษ์ และกรัณฑรัตน์ บุญช่วยธนาสิทธ. (2560) องค์ประกอบด้านสุขภาพตามแนวคิดสภาวะพฤฒพลังของ ผู้สูงอายุ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 11 ฉบับพิเศษ, 53-63. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล (2560). รายงาน สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2559. นครปฐม: พริ้นเทอรรี่.
ยศ วัชระคุปต์,วรรณภา คุณากรวงศ์, พสิษฐ์ พัจนา และสาวิณี สุริยันรัตกร. (2561) ประสิทธิผลของบริการการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธาน. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 12 (4), 608-624.
สุปรีดา อดุลยานนท์. (2560). การขับเคลื่อนขบวนการสร้างเสริมสุขภาพสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://images.app./PNAQTt6hdNHwyxkv5
สุภาวดี ไชยเดชาธร, ทัศนีย์ ทิพย์สูงเนิน และกชกร แก้วพรหม. (2558). สุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้าง แกนนำชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 21 (1), 31-40.
สุวรรณา เตชะธีระปรีดา. (2557) การบริหารจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อผู้สูงอายุของเทศบาลตำบลน้ำใส อำเคอสีคิ้ว จังหวัด นครราชสีมา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 3 (2), 89-100. สำนักส่งเสริม กรมอนามัย กระทรวงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสำหรับบุคลากรสาธารณสุข. (2555). กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ื่อ สิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สรุปผลที่สำคัญ การทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: สำนักงาน สถิติแห่งชาติ. (2556).
สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2557). แนวทางการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุหลักสูตร 420 ชั่วโมง. นนทบุรี: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
Ko, J. (2010). Presbycusis and itsmanagement. British Journal of Nursing, 19 (3), 160-165.
Özsungur, F. (2019). Gerontechnological factors affecting successful aging of elderly. The Aging Male, 1-13.
Spyridakou, C. (2012). Hearing loss: a health problem for all ages. Primary Health Care, 22 (4), 16-20.
World Health Organization. (2014). Global Status Report on Non communicable Diseases. Geneva, Switzerland.
Abstract: The elders have changed physically, mentally, emotionally and participation in society. As a result, the elders have possibilities to ill than other age groups. Therefore, the elderly should receive holistic health care—physical, mental, social and spiritual health care should be integrated. The active aging concept developed by World Health Organization is a process of creating opportunities for physical, social, mental, participation from families and social support in order to enhance a better quality of life among elders in the community. The objective of this article is to review a holistic approach to caring for the elderly in all dimensions in accordance with the health pillars of the concept of energetic status, which consists of 3 components: 1) health care by evaluating different components a follows: self-rated health status, psychological well-being, disability, activities of daily living, functional limitation, exercise behavior, instrumental activity of daily living, vision and hearing, 2) promoting community participation and 3) promoting stability or security in life. This concept is a crucial concept that develops the elderly to be self-reliant with potential and who are still able to benefit themselves, their family, and society.
ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในสังคม ส่งผลให้ผู้สูงอายุ เกิดความเจ็บป่วยได้ง่ายกว่าประชากรในกลุ่มอายุอื่น ๆ ดังนั้นผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม กล่าวคือ การ ดูแลภาวะสุขภาพที่ครบทุกองค์ประกอบในทุกมิติของบุคคล ได้แก่ กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ แบบบูรณาการ การนำ แนวคิดพฤฒพลังซึ่งเป็นกระบวนการสร้างโอกาสช่วยให้กายภาพ สังคม จิตใจ การมีส่วนร่วมจากครอบครัว และสังคม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการทบทวนวรรณกรรมแนวทางการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน แบบองค์รวมในทุกมิติที่สอดคล้องตามองค์ประกอบเสาหลักด้านสุขภาพของแนวคิดสภาวะพฤฒพลังซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านสุขภาพโดยการประเมินองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ สุขภาพของตนเอง สุขภาวะทางจิต ความพิการ ความสามารถ ในการปฏิบัติกิจกรรมประจำพื้นฐาน ข้อจำกัดของร่างกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย ในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันที่ ซับซ้อน การมองเห็นและการได้ยิน 2) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชน และ 3) การส่งเสริมให้มีความมั่นคงหรือการมี หลักประกันในชีวิตอีกด้วย เพื่อพัฒนาให้ผู้สูงอายุพึ่งตนเองได้มีศักยภาพ และเป็นผู้ที่ยังสามารถทำประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคม
ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในสังคม ส่งผลให้ผู้สูงอายุ เกิดความเจ็บป่วยได้ง่ายกว่าประชากรในกลุ่มอายุอื่น ๆ ดังนั้นผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม กล่าวคือ การ ดูแลภาวะสุขภาพที่ครบทุกองค์ประกอบในทุกมิติของบุคคล ได้แก่ กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ แบบบูรณาการ การนำ แนวคิดพฤฒพลังซึ่งเป็นกระบวนการสร้างโอกาสช่วยให้กายภาพ สังคม จิตใจ การมีส่วนร่วมจากครอบครัว และสังคม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการทบทวนวรรณกรรมแนวทางการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน แบบองค์รวมในทุกมิติที่สอดคล้องตามองค์ประกอบเสาหลักด้านสุขภาพของแนวคิดสภาวะพฤฒพลังซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านสุขภาพโดยการประเมินองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ สุขภาพของตนเอง สุขภาวะทางจิต ความพิการ ความสามารถ ในการปฏิบัติกิจกรรมประจำพื้นฐาน ข้อจำกัดของร่างกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย ในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันที่ ซับซ้อน การมองเห็นและการได้ยิน 2) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชน และ 3) การส่งเสริมให้มีความมั่นคงหรือการมี หลักประกันในชีวิตอีกด้วย เพื่อพัฒนาให้ผู้สูงอายุพึ่งตนเองได้มีศักยภาพ และเป็นผู้ที่ยังสามารถทำประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคม
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/930
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.