Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/925
Title: Nursing care for patients with septic shock
Authors: permpool, Saengsom
แสงสม เพิ่มพูน
Keywords: Sepsis
CPG
Shock
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จันทราภา ศรีสวัสดิ์และคณะ. (2553). อายุรศาสตร์ฉุกเฉิน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พิมพ์อักษรการพิมพ์.
ชวนพิศ วงศ์สามัญ และ กล้าเผชิญ โชคบำรุง. (2560). การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 9. ขอนแก่น
ดุสิต สถาวร, สหดล ปุญญถาวร และ ครรชิต ปิยะเวชวิรัตน์. (2555). From Basics to Bedsides. กรุงเทพฯ: บริษัท กบียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด.
ดุสิต สถาวร, สหดล ปุญญถาวร และ ครรชิต ปิยะเวชวิรัตน์. (2556). From Global Perspective to Everyday Practices. กรุงเทพฯ : บริษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด.
ดุสิต สถาวร, อนันต์ วัฒนธรรม และ เอกรินทร์ ภูมิพิเชษฐ. (2554). CRITICAL CARE MEDICINE MAKE IT EASY. กกกกกกก กรุงเทพฯ : บริษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด.
ทิฏฐิ ศรีวิชัยและวิมล อ่อนเส็ง. (2560). ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ: ความท้าทายของพยาบาลฉุกเฉิน.วารสารวิทยาลัย บรมราชชนนีอุตรดิตถ์. 9(2) : 152-162
ธนรัตน์ พรศิริรัตน์, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล และ สุรัตน์ ทองอยู่. (2558). ปัจจัยทำนายกาเข้าสู่ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ กกกกกกกในผู้ป่วยอายุรกรรมทีมีภาวะติดเชื้อ. วารสารสภาการพยาบาล. 30(1) :72-85. แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิต โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร. ปฏิพร บุณยพัฒน์กุล. (2558). ประสิทธิผลของระบบการบริการสุขภาพฉุกเฉินต่ออาการทางคลินิกในผู้ป่วยที่มีภาวะพิษเหตุ ติดเชื้อ THE EFFECTIVENESS OF EMERGENCY HEALTH CARE SYSTEM ON CLINICAL SIGNS
ประไพพรรณ ฉายรัตน์ และ สุพัฒศิริ ทศพรพิทักษ์กุล. (2560). ประสิทธิผลของรูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ กกกกกกกในกระแสโลหิต The effectiveness of Nursing Care Model for Sepsis Patient. วารสารการพยาบาล กกกกกกก และการดูแลสุขภาพ. 36(1) : 224-231.
มนฑิรา มณีรัตนะพร, นัฐพล ฤทธิ์ธยมัย และ ศรีสกุล จิรกาญจนากร. (2561). อายุรศาสตร์ทันใจ Survival guide กกกกกกก in Acute Care Medicine. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัท พริ๊นท์เอเบิล จำกัด.
ยุวดี เทียมสุวรรณและคณะ. (2560). การพัฒนาแนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยหนักที่ติดเชื้อในกระแสเลือดโดยใช้การจัดการ กกกกกกก กรณีในโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค์. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ. 35 (1): 184-193.กก
วิจิตรา กุสุมภ์. (2553). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด กกกกกกก สามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิชย์.
วิลาวัลย์ อุดมการณ์เกษตร. (2559). การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก Nursing Care of Patient with Shock. กกกกกกก บริษัท ส. เจริญการพิมพ์ จำกัด.
เสาวนีย์ เนาวพาณิช และ วันเพ็ญ ภัญญโญภาสกุล. (2558). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทางอายุรศาสตร์ กกกกกกก(Critical Care Medical Nursing). นนทบุรี: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
สุกัญญา ชัชวาลย์ . 2556). การพยาบาลผู้ป่วยช็อคจากการติดเชื้อและมีภาวการณ์หายใจล้มเหลว. วารสารโรงพยาบาล มหาสารคาม. 12(2). :135-142.
เอกนรินทร์ ภูมิพิเชฐ. (2556). เวชบำบัดวิกฤตพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทบียอนด์ เอนเทอร์ ไพรส์ จำกัด. กก 1081
Abstract: Care of process for patient with sepsis requires the development of continuous and comprehensive treatment, effective guidelines and able to be implemented.The aim of Caring for patients with quick diagnosis, find the source of the infection and selection of proper antibiotics,that for reduce the mortality rate and the rate of complications in patients with sepsis. The specific clinical risk of sepsis is a septic shock. Septic Shock is a critical crisis, life threatening , high incidence and death rate. The prevention of such conditions requires rapid and accurate diagnosis. The medical team, nursing team must provide urgent and complete medical care according to standards on important issues. Early gold directed therapy in 6 hours. And continuously monitor the signs and symptoms. Then report a doctor correctly, quickly when there are abnormal symptoms. To allow patients to be safe from septic shock. This article presents the case studies with septic shock patients. To apply knowledge in nursing practice for septic shock patients.
กระบวนการการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตต้องอาศัยการพัฒนาแนวทางการรักษาที่ต่อเนื่อง และครอบคลุม มีประสิทธิภาพ และสามารถนำสู่การปฏิบัติได้ ดูแลรักษาผู้ป่วยโดยมุ่งหวังให้ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยอย่าง รวดเร็ว หาแหล่งเพาะเชื้อที่เป็นสาเหตุ การเลือกยาต้านจุลชีพที่เหมาะกับเชื้อก่อโรค เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและอัตราการ เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต ความเสี่ยงเฉพาะโรคของภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตคือการติด เชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อค (septic shock) ซึ่งเป็นภาวะวิกฤต คุกคามชีวิต มีอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตสูง การ ป้องกันภาวะดังกล่าวต้องมีการวินิจฉัยอย่างถูกต้องรวดเร็ว ทีมแพทย์ทีมการพยาบาลจะต้องให้การรักษาพยาบาลอย่าง เร่งด่วนและครบถ้วนตามมาตรฐานในประเด็นต่างๆที่สำคัญ ตาม safety goal ภายใน 6 ชั่วโมงแรก และเฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดงอย่างต่อเนื่อง สามารถรายงานแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติได้อย่างถูกต้อง ทันการ เพื่อให้ผู้ป่วย ปลอดภัยจากภาวะช็อคจากการติดเชื้อในกระแสโลหิตได้ บทความนี้จึงนำเสนอกรณีศึกษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มี ภาวะช็อค เพื่อการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อค
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/925
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.