Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/923
Title: The Development of Online Learning using a Project-Based Information Technology And Communication for Undergraduate Students Nakhon Pathom Rajabhat University
Authors: Sukpon, Thaneatpon
Srichailard, Uraiwan
ธเนศพล สุขผล
อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ
Keywords: Lessons Online
Project-based Information
Communications Technology
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ชินวัตร นนเลาพล และลาวัณย์ ดุลยชาติ. (2560). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างผลงานภาพ 3 มิติเสมือนจริง ด้วยโปรแกรมแอพพลิเคชั่นพลิกไลเพลเยอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6. การประชุมวิชาการระดับชาติ การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. มหาสารคาม.
ดุษฎี โยเหลา และ คณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้าง เสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ : หจก. ทิพยวิสุทธิ์.
พรทิพย์ ปริยวาทิต และวิชัย นภาพงศ์. (2559). ผลของการใช้บทเรียน Augmented Reality Code เรื่องคำศัพท์ภาษาจีน พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปีที่ 27(ฉบับที่ 1), น.9-17
นาตยา ช่วยชูเชิด. (2561). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด โดยใช้โครงงานเป็นฐาน สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารกลุ่มมนุษยศาสตร์ – สังคมศาสตร์. 1(1). 1-11.
มาลิสา ทองส่งโสม กุสุมา ใจสบาย. (2561). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การค้นหาและการจัดเก็บข้อมูลกลุ่ม สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 12(2). 58-69.
อรุณ, ตั้งมโนกุล. (2558). บทเรียนออนไลน์ การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ แฟลช (โปรแกรมคอมพิวเตอร์). วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี.
Abstract: The purpose of this research were to 1) The Development of Online Learning using a Project- Based Information Technology And Communication for Undergraduate Students Nakhon Pathom Rajabhat University 2) The efficiency of online lessons that develop. 3) Compare learning achievement result before and after studying of online learning. 4) Inquire the satisfaction of the students about online learning. The sample group in this research was study were 3 year students studying computer science. Nakhon Rajabhat University among students about 61/13 of 24 people selected by simple random. selection, by down lots classroom. The research instruments were e-Learning, learning management plan achievement of learning and questionnaire. The research statistics used mean, standard deviation, t-test dependent The research findings showed that 1) Online lessons that develop learning content contains three units. 2) The efficiency of online tutorials. The improved efficiency of 83.33 / 82.26 which was higher than the benchmark. Set 80/80. 3) The achievement of students with online learning. The score higher than the previous significant statistically. 01. 4) Satisfaction of the students toward learning is at the highest level ) =4.64, S.D = .0.52(.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้รูปแบบการเรียนโครงงานเป็นฐาน วิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร นักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) หาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ที่พัฒนาขึ้น 3) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ 4) หาค่าความพึงพอใจ ของนักศึกษา ที่มีต่อบทเรียนออนไลน์โดยใช้รูปแบบการเรียนโครงงานเป็นฐาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยกลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จำนวน 24 คน โดยวิธีการ เลือกแบบสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ บทเรียนออนไลน์ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเชื่อมั่น KR-20 ค่าความยากง่าย และ ค่าสถิติที )t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า1) บทเรียนออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยเนื้อหา 3 หน่วยการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียน โครงงานเป็นฐาน มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดีมาก 2) ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.33 /82.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 80/80 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียน ออนไลน์โดยใช้รูปแบบการเรียนโครงงานเป็นฐาน มีคะแนนหลังเรียน (􀝔􀒧 = 28.79, S.D. = 3.89) ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียน ) = 12.38 , S.D. = 3.91 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (.01 4) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ โดยใช้รูปแบบการเรียนโครงงานเป็นฐานอยู่ในระดับมากที่สุด ) =4.64, S.D = .0.52(
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/923
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.