Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/922
Title: The Synthesis of Project-based Learning Model with Demonstration Learning Activities to Enhance the Potential Working
Authors: Jittavisuttikul, Phongdanai
Tiantong, Monchai
พงษ์ดนัย จิตตวิสุทธิกุล
มนต์ชัย เทียนทอง
Keywords: potential working
demonstration learning
project-base learning
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงษ์ดนัย จิตตวิสุทธิกุล, ธัญญรัตน์ น้อมพลกรัง และจิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์. (2562). การสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ตามฐาน สมรรถนะโดยใช้โครงงานเป็นฐานที่มีระบบช่วยเหลืออัตโนมัติเพื่อเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงาน. การประชุม วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : วิน-วิน ดิจิตอล พริ้นติ้ง จำกัด.
มนต์ชัย เทียนทอง. (2556). นวัตกรรม : การเรียนและการสอนด้วยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด.
วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงการ. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ม ไอ ที พริ้นติ้ง.
วีณา คงพิษ และคณะ. (2560). การสังเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีระบบช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนตามการเรียนรู้แบบ VARK. วารสารวิชาการศรีปทุม, 14 (2), 121-131.
สุชาติ วงศ์สุวรรณ. (2542). การเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 : การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ.
สุวิทย์ มูลคำ. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ : ดวงกลมสมัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
ไสว ฟักขาว. (2544). หลักการสอนสำหรับการเป็นครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์.
Abstract: The objectives of the research were to: 1) synthesize of project-based learning model with demonstration learning activities to enhance the potential working and 2) evaluate appropriateness of synthesized model using discussion from 10 experts, selected by purposive sampling. The statistics used in this research were mean and standard deviation. The results showed that: 1) project-based learning model with demonstration learning activities to enhance the potential working consisted of four parts: preparation, project-based learning, demonstration learning activities and an assessment and 2) The experts admit the synthesized model that was appropriate at high level (mean = 4.48, S.D. = 0.51). It can be summarized that such a learning model can be applied appropriately as the prototype in developing the learning model.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ แบบสาธิตเพื่อเสริมศักยภาพการปฏิบัติงาน 2) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้ที่สังเคราะห์ขึ้นโดยใช้ กระบวนการสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 คน ซึ่งได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบสาธิตเพื่อเสริม ศักยภาพการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การเตรียมการ, การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน, กิจกรรมการ เรียนรู้แบบสาธิต และการประเมินผล และ 2) ผู้เชี่ยวชาญให้การยอมรับรูปแบบการเรียนรู้ที่สังเคราะห์ขึ้นว่ามีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.51) สรุปได้ว่าสามารถนำรูปแบบการเรียนรู้ดังกล่าวไป ใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/922
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.