Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/921
Title: The Development of Online Supplementary Media with Blended Learning on Game Creation by Kodu Game Lab for Junior High School Students.
Authors: Khaemthong, Chumpol
Soonthara, Sumalee
ชุมพล เข็มทอง
สุมาลี สุนทรา
Keywords: Online Supplementary
Blended Learning
Achievement, Game
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กชกร เป้าสุวรรณ และคณะ (2550). ความพึงพอใจ ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2563 จากhttps://sites.google.com/site/ 423313researchsaeauideesorn/bth-thi-2-wrrnkrrm-thi-keiywkhxng/-aua
นิคม ทาแดง และคณะ, (2545). สื่อการสอน ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.classstart.org/classes/297
พัชรียา อินทร์พรหม (2559). ชุดการสอนเสริมทักษะ เรื่อง ตัวสะกดในภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สำหรับเด็ก ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา. ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Spe Ed/Somluck_S.pdf
วัชราภรณ์ เพ็งสุข (2559). บทเรียนออนไลน์ วิชา คอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.tcithaijo.org/index.php/eduku/article/download/ 85847/68259/ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2558). เกม. ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80 %E0%B8%81%E0%B8%A1
วีระชัย นาสารีย (2561). การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน ตามแนวคิดของ โรเบิร์ต กาเย่ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง. ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/118985
ศวิตา ทองสง (2555). ทฤษฎี ADDIE Model. ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://sites.google.com/site/Prae 8311/khwam-hmay-khxng-kar-reiyn-kar-sxn-phan-web
สุชัญญา เยื้องกลาง ธนดล ภูสีฤทธิ์ และคณะ (2562). วิจัย การพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบผสมผสานโดยใช้เกม แอปพิเคชั่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงระดับ ประถมศึกษาสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษา. ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://so05.tcithaijo .org/index.php/Ratchaphruekjournal/article/download/175190/125334/
สุทธิกานต์ บ่อจักรพันธ และคณะ (2559). บทเรียนแบบเกม เรื่องการบวกลบเลขผลลัพธ์ไม่เกิน 1,000 สำหรับนักเรียน โรงเรียนอนุบาลกุมภวาปี อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานีเขต 2 ภาคเรียนที่ 2. ในการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2
สมาคมสโลน Allen and Seaman (2005). การเรียนรู้แบบผสมผสาน. ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://nipatanoy.wordpress.com/blended-learning
Charles R. Graham Graham (2012). การเรียนรู้แบบผสมผสาน. ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://nipatanoy.wordpress.com/blended-learning
Michael B. Horn and Heather Staker(Horn and Staker (2011). การเรียนรู้แบบผสมผสาน. ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จากhttps://nipatanoy.wordpress.com/blended-learning
Abstract: The objectives of this research were as follows: 1) To develop online supplementary media with blended learning techniques on creating games with Kodu Game Lab program for Junior High School Students, 2) to compare the learning achievement before and after learning by using the online supplementary media of the learners and, 3 ) to study the learners’ satisfaction towards the online supplementary media. The sample group used in this study were 30 Grade 8 students of Municipal school 4 in Nakhon Pathom selected by specific method. The tools used in the research were as follows: 1) The online supplementary media with blended learning techniques on creating games with Kodu Game Lab program, 2) the academic achievement tests, and 3) learners’ satisfaction questionnaires. The results of the study showed that 1) the online supplementary media had the evaluation result from 3 experts at a high level (􀂚􀴤=4.22, S.D.=0.34), 2) learning achievement of the learners using the online supplementary media was higher than before learning at the statistical significance of . 05, and 3) learners’ satisfaction towards learning with the online supplementary media was at the highest level (􀂚􀴤=4.70, SD=0.05). Therefore, it can be concluded that teaching with the online supplementary media with blended learning on Game Creation by Kodu Game Lab is able to increase academic achievement.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาสื่อสอนเสริมออนไลน์ ร่วมกับการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่องการ สร้างเกมด้วยโปรแกรม Kodu Game Lab สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อสอนเสริมออนไลน์ และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อ สอนเสริมออนไลน์กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 จังหวัดนครปฐม จำนวน 30 คน คัดเลือกโดยวิธีเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) สื่อสอนเสริมออนไลน์ร่วมกับการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่องการ สร้างเกมด้วยโปรแกรม Kodu Game Lab 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของ นักเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพของสื่อสอนเสริมออนไลน์ที่ผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน อยู่ในระดับมาก (􀝔􀒧=4.22, S.D.=0.34) 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อสอนเสริมออนไลน์หลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยสื่อสอนเสริม ออนไลน์อยู่ในระดับมากที่สุด (=4.70, S.D.=0.05) จึงสรุปได้ว่า การเรียนการสอนด้วยสื่อสอนเสริมออนไลน์ร่วมกับการ􀇰 เรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่องการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Kodu Game Lab นักเรียนมีความพึงพอใจระดับดีมากและสามารถ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/921
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.