Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/919
Title: The Development of Computer Assisted Instruction Lessons by Using Think pair share Techniques A case study of Using Microsoft PowerPoint for Mathayomsuksa 1 students at Tessaban 2 Wat Saneha School (Samak Phol Padung)
Authors: Bairaksa, Chaimongkon
Srichailard, Panuwat
ชัยมงคล ใบรักษา
ภานุวัฒน์ ศรีไชยเลิศ
Keywords: microsoft powerPoint
computer assisted instruction think pair share
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
จินดา อยู่เป็นสุข. (2545). การสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน. กรุงเทพฯ : ดับบลิว เจ.พร็อพเพอตี้.
นรินทร์ อินทรี ชาตรี เกิดธรรม และอังคนา กรัณยาธิกุล. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้าง
ปิยะนุช เจียมจันทร์ และธานิล ม่วงพูล. (2560) การพัฒนากระบวนเรียนการสอนแบบเพื่อนคู่คิดโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องคำราชาศัพท์. ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยราชภฏัมหาสารคาม. มหาสารคาม
ศุภากร สุนทรสารทูล และนพดล ผู้มีจรรยา (2561) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคเพื่อน คู่คิด เรื่อง งานอาชีพสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพระงาม (สามัคคพีิทยา). ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.นครปฐม
สุปรีชา สอนสาระ. (2554). ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : https://www.gotoknow.org/posts/442153 [เข้าถึงข้อมูล 15 มีนาคม 2562]
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ . (2547). 19 วิธีการจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ : เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.
Abstract: The purposes of the research were to 1) Development of Computer Assisted Instruction Lessons by Using Think pair share Techniques A case study of Using Microsoft 2) study the effectiveness of computer assisted instruction on developed 3) The results of the results of the performance of pre-school achievement and after-class using computer-aided lessons using peer-to-peer teaching techniques. 4) students' satisfaction with computer-assisted lessons using think pair share teaching techniques. The samples used in this research were 30 Mathayomsuksa 1/1 students with a simple random method. The tool consists of 1) computer-aided lessons using think pair share teaching techniques, 2) think pair share learning management plans, 3) measuring academic achievement, and 4) learner satisfaction questionnaires. The statistics used in the analysis are averages, standard deviations, and t-test values, depending on the The results showed that 1) the opinions of content experts on computer-aided lessons were at the highest level. ( = 4.90, S.D.= 0.31) the opinions of technical experts on computer-aided lessons are at the highest level. ( = 4.86, S.D.= 0.35) 2) The performance of computer-aided lessons developed is 83.83/82.33, which is higher than the threshold set to 80/80. 3) Student Learning Achievement After class, there are test results ( = 24.70, S.D.= 1.56) higher than before leaning ( = 13.37, S.D.= 2.28) at .05 level. And 4) The results ask educators for their satisfaction with computer lessons. Overall, the level is very satisfied. ( = 4.40, S.D.= 0.77)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้เทคนิคการสอน แบบเพื่อนคู่คิด กรณีศึกษาการใช้งานโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2) ศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนคู่คิด 3) ผลการศึกษาประสิทธิภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนคู่คิด 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบเพื่อนคู่คิด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 30 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้ เทคนิคการสอนแบบเพื่อนคู่คิด 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก ที่สุด ( = 4.90, S.D.= 0.31) ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก ที่สุด ( = 4.86, S.D.= 0.35) 2) ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นมีค่าเท่ากับ 83.83/82.33 ซึ่งสูง กว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียน หลังเรียนมีผลการทดสอบ คือ ( = 24.70, S.D.= 1.56) สูงกว่าก่อนเรียนมีผลการทดสอบคือ ( = 13.37, S.D.= 2.28) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 4) ผลสอบถาม ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเพื่อนคู่คิด โดยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ( = 4.40, S.D.= 0.77)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/919
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.