Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorRianthong, Narin-
dc.contributor.authorAumgri, Charinthorn-
dc.contributor.authorApirating, Kaiyasith-
dc.contributor.authorนรินทร์ เหรียญทอง-
dc.contributor.authorจรินทร อุ่มไกร-
dc.contributor.authorไกยสิทธิ์ อภิระติง-
dc.date.accessioned2021-04-05T02:44:48Z-
dc.date.available2021-04-05T02:44:48Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรวรรณ สืบสม และ นพรัตน์ หมีพลัด. (2560). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped classroom) ด้วยการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียผ่าน Google Classroom. สมาคม-
dc.identifier.citationสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 6(2), 118-127.-
dc.identifier.citationธาดาพนิสดี ศุกลวิริยะกุล. (2560). การประยุกต์ใช้ E-Learning ในกระบวนการเรียนการสอนวิทยาลัยเทคโนโลยี บริหารธุรกิจมีนบุรี กรุงเทพ. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationพรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่10). กรุงเทพฯ : มีนเซอร์วิส.-
dc.identifier.citationวันเพ็ญ ผลิศร และ พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2562). รูปแบบคลาวด์เลิร์นนิงแบบอัจฉริยะเพื่อพัฒนาการรู้ดิจิทัลและทักษะการ เรียนรู้แบบร่วมมือกัน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 29(3), 518-526.-
dc.identifier.citationวิทยา มนตรี, ศศิธร ชูแก้ว และ ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2562). การออกแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมผ่านคลาวด์เลิร์นนิงเพื่อ ส่งเสริมทักษะการสร้างนวัตกรรมและการยอมรับเทคโนโลยี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “สารสนเทศ-
dc.identifier.citationศาสตร์วิชาการ 2019” (25-26 มิถุนายน 2562), 11 หน้า, 1-11. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.-
dc.identifier.citationอนุชา สะเล็ม. (2560). การประยุกต์ใช้ E-Learning ในกระบวนการเรียนการสอนวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจมีนบุรี กรุงเทพ. สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร.-
dc.identifier.citationอพัชชา ช้างขวัญยืน และ ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์. (2559). การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการเรียนรู้แบบ โครงงาน รายวิชาคอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน สำหรับนิสิตปริญญาตรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12 (21-22 กรกฎาคม 2559), 10 หน้า, 1344-1353. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/918-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to synthesize the concept of using conceptual framework of cloud classroom via flipped classroom learning of computing science for grade 8 students and 2) to assess the framework of using Cloud Classroom together with classroom learning Computational science course Grade 8 Students target groups are 8 experts in computer education. Tools used in the research were 1) related documents and research. 2) to evaluate the framework of using conceptual framework of cloud classroom via flipped classroom learning of computing science for grade 8 students. The research instruments include of 1) related documents and research. 2) Conceptual framework for using conceptual framework of cloud classroom via flipped classroom learning of computing science for grade 8 students and 3) Evaluation framework for using cloud classroom via flipped classroom of computing science for grade 8 students. Statistics used to analyze the data including mean, standard deviation. The results of the research revealed that 1) The conceptual framework of cloud classroom via flipped classroom learning of computing science for grade 8 students consists of 5 steps which are (1) study the data, analyze and choose the problems (2) design the steps and processes (3) perform according to the structure of the steps (4) process evaluation (5) report writing, present and 2) to evaluate the framework of using conceptual framework of cloud classroom via flipped classroom learning of computing science for grade 8 students. Found that the suitability is at a high level (x̄ = 4.34, SD = 0.41).en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์กรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ ห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 2) ประเมินกรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา จำนวน 8 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) กรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3) แบบประเมินกรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับ ด้าน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาข้อมูลวิเคราะห์และเลือกปัญหา (2) ออกแบบขั้นตอนและกระบวนการ (3) ปฏิบัติการตามโครงสร้างขั้นตอน (4) การประเมินกระบวนการ (5) การเขียนรายงาน นำเสนอ และ 2) ผลการประเมินความเหมาะสมของกรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ ห้องเรียนกลับด้านเพื่อการจัดการเรียนนรู้ รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ ในระดับมาก (x̄ = 4.34, S.D. = 0.41)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectComputing Scienceen_US
dc.subjectFlipped Classroomen_US
dc.subjectCloud Classroomen_US
dc.titleConceptual Framework of Cloud Classroom via Flipped Classroom Learning of Computing Science for Grade 8 Studentsen_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.titleกรอบแนวคิดการใช้ Cloud Classroom ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2-
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.