Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/913
Title: Application of Digital Technology in Education
การประยุกต์ใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีด้านการศึกษา
Authors: Thonghuapai, Urai
อุไร ทองหัวไผ่
Keywords: digital technology
education
skill
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: คลังปัญญา. (2559). ระบบการศึกษาของจีน อดีต ปัจจุบัน อนาคต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ.
ภาสกร เรืองรอง และคณะ (2014). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5 (ฉบับ พิเศษ), 195-207.
พรฤทัย ศักดิ์สกุลพรชัย. (2019). เทคโนโลยีกับอุตสาหกรรมการศึกษาจีน. Shanghai Daily ฉบับวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2562. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก https://thaibizchina.com/teched/
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ศูนย์พัฒนาการศึกษาระหว่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2548). ยุทธศาสตร์การ ปฏิรูปการศึกษาของประเทศต่าง ๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2546). นโยบายและยุทธศาสตร์การ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579, กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2559-2560 แนวทางการ ปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0, กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2550). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก https://www.bic.moe.go.th/images/stories/Porrorbor2542.pdf
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สพฐ. (2016). แนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก https://webs.rmutl.ac.th/assets/upload/files/2016/09/20160908101755_51855.pdf
สุริยา ฆ้องเสนาะ. (2560). ฟินแลนด์กับความสำเร็จด้านการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร.
อาณัติ รัตนถิรกุล. (2018). EaaS ระบบบริการการเรียนการสอนสำหรับผู้สอนยุคดิจิทัล. Journal of Pacific Institute of Management Science. 4(1): 308-320.
Daniel Faggella. (2019). Examples of Artificial Intelligence in Education. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก https://emerj.com/ai-sector-overviews/examples-of-artificial-intelligence-in-education/
Karl Utermohlen. (2018). 4 Ways AI is Changing the Education Industry. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก https://towardsdatascience.com/4-ways-ai-is-changing-the-education-industry-b473c5d2c706
OUR Khung BangKachao. (2018). กรณีศึกษาการปฏิรูปการศึกษาในประเทศฟินแลนด์. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก http://www.ourkhungbangkachao.com/th/article/identity/9#book/
PISA THAILAND. (2559). นักเรียนเกาหลีใต้เขาเรียนหนังสือกันอย่างไร. ค้นเมื่อ 17 เมษายน 2563 จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2016-9/
Abstract: Education is an important factor in the creation of human resources and social development for quality and morality. Nowadays, digital technology is used in teaching and learning by using it as an educational tool and as a teaching tool. The skills needed by teachers in the 21st century must be people with experience in new learning management, have modern search skills, can transfer knowledge through media effectively, select modern content and suitable for learners, have a true evaluation of each learner, use a variety of worthwhile technology, create new modern innovations for easy access to students, create a collaborative network appropriate learning activities. These essential skills can be used to develop learners to have knowledge, skills and good attitudes, ready to go out to work and live quality in the 21st century
การศึกษาเป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาสังคมให้มีคุณภาพและคุณธรรม ปัจจุบันมีการ นำดิจิทัลเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน โดยนำมาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการศึกษาและเป็นเครื่องมือในการสอน ทักษะที่ จำเป็นของผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ต้องเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ ๆ, มีทักษะในการแสวงหา ความรู้ที่ทันสมัย, สามารถถ่ายทอดความรู้ผ่านสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ, คัดเลือกเนื้อหาที่ทันสมัยและเหมาะสมต่อผู้เรียน, มี การประเมินผลที่ตรงสภาพจริงของผู้เรียนแต่ละคน, ใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่าและหลากหลาย, สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ ทันสมัยเพื่อให้ผู้เรียนเข้าถึงได้ง่าย, มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม ซึ่งทักษะที่จำเป็น เหล่านี้สามารถนำมาพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีทักษะ และมีเจตคติที่ดีพร้อมจะออกไปประกอบอาชีพและใช้ชีวิตอย่างมี คุณภาพได้ในศตวรรษที่ 21
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/913
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ท - Shortcut.lnk830 BUnknownView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.