Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/906
Title: | The development of Web – based instruction on Computer Science Subject with Problem – based Learning technique to improve Year 10 students' computational thinking skill. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
Authors: | Tuensukhon, Manchima Sintanakul, Thanrat มัญชิมา เถื่อนสุคนธ์ ธันว์รัชต์ สินธนะกุล |
Keywords: | Web-based Instruction Problem-based learning computational thinking skill |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง. (2541). หลักการออกแบบและสร้างคอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยโปรแกรม
Multimedia Tool Book. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มนต์ชัย เทียนทอง. (2545). การออกแบบและพัฒนาครอร์สแวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ: ภาควิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ครั้งที่พิมพ์ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานเลขาธิการการสภาศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวาน กราฟฟิค จำกัด. Ling, U.L., Saibin, T.C., Naharu, N., Labadin, J., & Aziz, N.A. (2018). An evaluation tool to measure computational skills: Pilot investigation. The national academy of managerial staff of culture and arts hera |
Abstract: | The Objectives of this research were: 1) to develop Web-based instruction 2) to find the efficiency of
Web-based instruction 3) to compare the students’ learning achievement before and after learning with Webbased
instruction. 4) to develop the students’ computational thinking skills and 5) to study the students' satisfaction
towards using Web-based instruction. The Sample group, selected using Simple Random Sampling by drawing out 1
classroom, was 34 students of Rajavinit Mathayom school, studying computational science in the 2nd semester of
academic year 2019. The research instrument consisted of Web-based Instruction, lesson quality evaluation form,
pre-test/post-test, computational thinking skills evaluation form, and satisfaction evaluation form.
The finding indicated that the efficiency of the web-based Instruction was 83.82/80.15, the average of post-test
score ( = 16.14, S.D. = 1.96) was higher than the average of pre – test score ( = 10.23, S.D. = 2.4) at a statistical
significance level .05. The students’ computational thinking skills was in a very good level (82.66%) and the assessment
showed a high level of the learners’ satisfaction การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2) หาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4) พัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณ 5) ศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชวินิตมัธยม ปีการศึกษา 2562 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 34 คน คัดเลือกด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากเป็น ห้องเรียน จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบไปด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบประเมิน คุณภาพบทเรียน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินทักษะการคิดเชิงคำนวณ และแบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 83.82/80.15 ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียน ( = 16.14, S.D. = 1.96) มีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน( = 10.23, S.D. = 2.4) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 การประเมินทักษะการคิดเชิงคำนวณผู้เรียนคิดเป็นร้อยละ 82.66 อยู่ในระดับดีมาก และผลการประเมินความพึงอยู่ในระดับมาก ( = 4.48, S.D. = 0.64) |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/906 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ข - Shortcut.lnk | 830 B | Unknown | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.