Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPiamboon, Nopparat-
dc.contributor.authorAumgri, Charinthorn-
dc.contributor.authorApirating, Kaiyasith-
dc.contributor.authorนพรัตน์ เปี่ยมบุญ-
dc.contributor.authorจรินทร อุ่มไกร์-
dc.contributor.authorไกยสิทธิ์ อภิระติง-
dc.date.accessioned2021-04-02T08:06:13Z-
dc.date.available2021-04-02T08:06:13Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพร้าว.-
dc.identifier.citationถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) Desiging e-Learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื􀃉อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเน็จเม้นท์ พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationภัคจิรา รอดพ้น. (2553). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงที่มีฐานความช่วยเหลือทางการเรียน เรื่อง ประวัติศาสตร์สุโขทัย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationมัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem–Based Learning). วารสารวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 5(2), 11-17.-
dc.identifier.citationพรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่10). กรุงเทพฯ : มีนเซอร์วิส.-
dc.identifier.citationวรกมล วงศธรบุญรัศมิ์. (2557). การเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาสมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียว ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา ภาควิชาคณิตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationศิริภรณ์ โทอ่อน. (2556). บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ระบบสื่อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ.-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนัก นายกรัฐมนตรี.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/900-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop online teaching management. in order to learn vocational courses and technology on basic mechanics of Grade 8, The target group were 10 experts in computer education. The research instruments were 1) related documents and researches, 2) evaluation forms for online teaching and learning development by using problems as the base. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation. The results of the research revealed that 1) the synthesis of online teaching development steps. by using the problem as the base, which was consisted of 6 steps as follows: (1) Define the problem, (2) Understand the problem, (3) Study and research, (4) Collect the data, (5) Conclusion, (6) Sharing and sharing, 2) the pictures showing the process of developing online teaching and learning management by using problems as the base, 3) assessment forms for teaching and learning Process, of development model for online teaching and learning development by using problems as the base, 4) the evaluation results of the suitability of the development of online teaching and learning model by using the problem as the base, found that most of them were suitable at a high level (􀝔􀒧= 4.9, S.D. = 0.2)en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสังเคราะห์กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อประกอบการเรียนรู้ รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง งานช่างพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อประเมิน กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง งานช่างพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา จำนวน 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) แบบประเมินขั้นตอนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ (1) กำหนดปัญหา (2) ทำความเข้าใจกับปัญหา (3) ศึกษาค้นคว้า (4) รวบรวมข้อมูล (5) สรุปผล (6) การ แลกเปลี่ยนแบ่งปัน 2) ภาพแสดงขั้นตอนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3) แบบประเมิน ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนรูปแบบการการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 4) ผลการ ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานพบว่า มีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.9, S.D. = 0.2)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectOnline Teaching Managementen_US
dc.subjectProblem-Based Learningen_US
dc.subjectBasic Technicianen_US
dc.titleThe Conceptual Framework for Development Model of Online Teaching Management by Problem-Based Learning for Grade 8 Students of the Demonstration School of Nakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.titleกรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม-
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.