Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorBumerng, Sarocha-
dc.contributor.authorThaiposri, Patamaporn-
dc.contributor.authorสโรชา บุเมิง-
dc.contributor.authorปถมาภรณ์ ไทยโพธิ์ศรี-
dc.date.accessioned2021-04-02T07:47:20Z-
dc.date.available2021-04-02T07:47:20Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationชาลิสา จิตบุญญาพินิจ และประสงค์ ปราณีตพลกรัง. (2559). ผลการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในการพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนอีเลิร์นนิ่งในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 11 (หน้า 123-131). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.-
dc.identifier.citationธนเดช ศักดิ์สุวรรณ และบัญชา สำรวยรื่น. (2560). การพัฒนาบทเรียน e-Learning กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่อง คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17 (หน้า 225-231). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม.-
dc.identifier.citationประสิทธิชัย มั่งมี ปณิตา วรรณพิรุณ และปรัชญนันท์ นิลสุข. (2557). การพัฒนาเว็บฝึกอบรมแบบผสมผสานด้วยกระบวนการ เรียนการสอนรูปแบบ MIAP เรื่อง การสร้างบทเรียนออนไลน์. วารสารวิชาการ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 5(2), 58-66.-
dc.identifier.citationพัชราภรณ์ จารุพันธ์ และกิตติพงษ์ พุ่มพวง. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับหุ่นยนต์ mBot วิชาวิทยาการ คำนวณ เพื่อส่งเสริมการใช้ความคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร, 12(6), 2425-2441.-
dc.identifier.citationพิชญ์ อำนวยพร และคณะ. (2562). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ประเภทเกม โดยใช้กลยุทธ์เกมมิฟิเคชัน เพื่อส่งเสริมการคิด เชิงคำนวณ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 20(2), 68-78.-
dc.identifier.citationวัชรพัฒน์ ศรีคำเวียง. (2561). วิทยาการคำนวณ (Computing Science). สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2563 จาก https://www.scimath.org/lesson-technology/item/8808-computing-science-
dc.identifier.citationวิเชษฐ์ นันทะศรี และกฤช สินธนะกุล. (2562). การพัฒนารูปแบบบทเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสานตามฐานสมรรถนะด้วย กระบวนการเรียน MIAP สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(3), 71-79.-
dc.identifier.citationศยามน อินสะอาด. (2561). การออกแบบบทเรียน e-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.-
dc.identifier.citationสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2563 จาก http://oho.ipst.ac.th/cs-curriculum-teacher-guide/-
dc.identifier.citationดารัตน์ สุขเจริญ รศรงค์ พัฒนาอนุสรณ์ และลาวัณย์ ดุลยชาติ. (2558). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การเลือก ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ, 1(2), 33-40.-
dc.identifier.citationอุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ และกฤช สินธนะกุล. (2560). การพัฒนาเว็บช่วยสอนบนระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ตามแผนการ สอนแบบฐานสมรรถนะร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการ MIAP. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 16(3), 83-91.-
dc.identifier.citationอุบลรัตน์ วิเชียร ปัญชรี อุคพัชญ์สกุล และ อัญชณา ศรีชาญชัย. (2562). รูปแบบบทเรียน E-learning สำหรับนักศึกษาผ่าน ระบบเครือข่าย. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 11(1), 231-242.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/899-
dc.description.abstractThe purposes of this research study were: 1) to develop e-Learning with MIAP learning process on Technology (Computing Science) for grade 8 students of Sriwichaiwithaya school, 2) to evaluate quality of content and production techniques, 3) to compare pretest and posttest score, and 4) to study student’s satisfaction. The sample in this research study consisted of 30 students in grade 8 of Sriwichaiwithaya school. The purposive selection method was used. The research instruments included e-Learning, quality of content and production techniques evaluation from, learning achievement test, and satisfaction questionnaire. Data were analyzed using mean ( x ), standard deviation (S.D.) and dependent t-test. The research findings were as follows: 1) the e-Learning was comprised of three parts: 1.1) Computer System Principle, 1.2) Communication Technology, and 1.3) Responsible use of Information Technology, 2) the experts agreed on the e-Learning quality of content at highest level ( x = 4.83, S.D.= 0.23) and the e-Learning quality of production techniques at highest level ( x =4.85, S.D.=0.22), 3) the posttest score was significantly higher than the pretest score at .05 level, and 4) students were satisfied after learning with the e-Learning at highest level ( x =4.51, S.D.= 0.61).en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เรื่อง เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา 2) เพื่อประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้าน เทคนิคการผลิต 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง ร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัย คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา ได้จากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย บทเรียนอีเลิร์นนิง แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านเทคนิคการผลิต แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าสถิติ (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนอีเลิร์นนิง ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 3 ตอน ได้แก่ 1.1) หลักการทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ 1.2) เทคโนโลยีการสื่อสาร และ 1.3) การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ 2) ผู้เชี่ยวชาญ ประเมินคุณภาพบทเรียนอีเลิร์นนิง พบว่า ด้านเนื้อหามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ( x = 4.83, S.D.= 0.23) และด้าน เทคนิคการผลิตมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ( x = 4.85, S.D.= 0.22) 3) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ผู้เรียนมีความพึงพอใจหลังเรียนรู้ด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง อยู่ใน ระดับมากที่สุด ( x = 4.51, S.D.= 0.61)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjecte-Learningen_US
dc.subjectMIAP learning processen_US
dc.subjectlearning achievementen_US
dc.titleThe Development of e-Learning with MIAP Learning Process on Technology (Computing Science) for Grade 8 Students of Sriwichaiwithaya Schoolen_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.titleการพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เรื่อง เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา-
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.