Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/896
Title: The Results of Learning Activities with Connectivism Theory through Cloud Technology to Develop Creativity and Innovation Skill for Teaching Profession Students
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์ เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู
Authors: Sae-tae, Rungthip
รุ่งทิพย์ แซ่แต้
Keywords: Connectivism Theory
Cloud Technology
Creativity and Innovation Skill
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2554). การบูรณาการวิธีการเรียนแบบร่วมมือกับการเรียนร่วมกัน. วารสารวิชาการ Veridian E - Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 4 (1), 435-444.
ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นรังสรรค์ วิไลสกุลยง. (2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการห้องเรียนไซเบอร์บนระบบประมวลผลกลุ่มเมฆด้วยหลัก จัดการเรียนแบบร่วมมือ. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ปณิตา วรรณพิรุณ. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นหลักเพื่อพัฒนาการคิด อย่างมีวิจารณญาณของนิสิตปริญญาบัณฑิต. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและ การสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราโมทย์ พรหมขันธ์. (2556). การพัฒนาความสามารถของครูด้านการออกแบบและสร้างนวัตกรรมการศึกษาโดยใช้การวิจัย เป็นฐาน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 41 (3), 98-114.
รุ่งทิพย์ แซ่แต้. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์เพื่อพัฒนาทักษะ การสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. บุรีรัมย์. หน้า 1589-1597.
วาฤทธิ์ กันแก้ว และณมน จีรังสุวรรณ. (2558). การออกแบบรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเทคโนโลยีคลาวด์เพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ, 6 (1), 197-204.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2558). กระบวนทัศน์การโค้ช เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
Dewey , John. (1916). Experience and Thinking. Democracy and Education. Macmillan.
Zuhrieh Shana, Enas Abulibdeh. (2017). Cloud Computing Issues for Higher Education: Theory of Acceptance Model. International Journal of Emerging Technologies in Learning (iJET), 12 (11), 168-184.
Abstract: This research aimed to; 1) study the results of using learning activities with connectivism theory through cloud technology to develop creativity and innovation skills for teaching profession students and; 2) investigate the satisfaction of students after using learning activities with connectivism theory through cloud technology to develop creativity and innovation skills for teaching profession students. The sample included 31 undergraduate students from the Faculty of Education at Suratthani Rajabhat University who enrolled in Innovation and Educational Information Technology course in semester 2, the academic year 2018. The sample group was 31 students selected by cluster random sampling. The classrooms were used as the sampling unit. Mean, standard deviation and t-test were employed. The findings are as follows. 1. The results of using learning activities with connectivism theory through cloud technology to develop creativity and innovation skills for teaching profession students consisted of; 1.1 the assessment results of teaching profession students’ creativity and innovation skills who used learning activities with connectivism theory through cloud technology showed that the average score was 87.28 percent and; 1.2 the learning achievement before and after using learning activities with connectivism theory through cloud technology to develop creativity and innovation skills was statistical significance of .05, and 2. The students’ satisfaction after using learning activities with connectivism theory through cloud technology to develop creativity and innovation skills for teaching profession students in overall was 95.8 percent.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยี คลาวด์เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาหลัง การใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม ของนักศึกษาวิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 31 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์เพื่อพัฒนา ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู ประกอบด้วย 1.1 ผลการประเมินทักษะการคิดสร้างสรรค์และ นวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครูที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์ มีค่าเฉลี่ย ของคะแนนคิดเป็นร้อยละ 87.28 และ 1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎี คอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 2. ความพึงพอใจของ นักศึกษาหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และ นวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครูโดยรวมคิดเป็น ร้อยละ 95.8
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/896
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
8.pdf197.76 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.