Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorAmphonphong, Wasan-
dc.contributor.authorThaiposri, Patamaporn-
dc.contributor.authorวสันต์ อำพลพงษ์-
dc.contributor.authorปถมาภรณ์ ไทยโพธิ์ศรี-
dc.date.accessioned2021-04-02T06:51:17Z-
dc.date.available2021-04-02T06:51:17Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกฤษณา สิกขมาน. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษธุรกิจ โดยใช้การสอนแบบ e-learning. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.-
dc.identifier.citationตุพร เที่ยงอยู่. (2558). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบซิปปา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิษณุโลก: วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.-
dc.identifier.citationจิตรลดา เฮงชัยโย และอินทิรา รอบรู้. (2562). ผลสัมฤทธิ์และเจตคติทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบซิปปา. วารสาร มมร วิชาการล้านนา, 8(1), 40-48.-
dc.identifier.citationทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationนาถวดี นันทาภินัย. (2561). การวิจัยและพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงเพื่อการพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 13(2), 54-69.-
dc.identifier.citationเบนยามิน วงษ์ประเสริฐ. (2562). microbit:bit in Action. นนทบุรี: บริษัท ไทยร่มเกล้า จำกัด.-
dc.identifier.citationวีรวัชร์ ทองสุข ดิเรก ธีระภูธร และปิยมนัส วรวิทย์รัตนกุล. (2562). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บเพื่อเสริมการศึกษานอกสถานที่ เรื่อง อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร, 21(1), 235-247.-
dc.identifier.citationสมเกตุ ต่วนโต ไพศาล สุธีบรรเจิด และพณณา ตั้งวรรณวิทย์. (2559). การพัฒนาบทเรียน e-learning เรื่อง การสร้างเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML5 แบบผสมผสานตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านสะแกงาม จังหวัดเพชรบูรณ์. การประชุมสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 16 และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 3 (หน้า 1937-1949). เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.-
dc.identifier.citationสายใจ ทองเนียม. (2560). การพัฒนาสื่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) วิชาภาษาวรรณคดี (THA 234). วารสาร มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 13(1), 25-40.-
dc.identifier.citationสำนักโฆษก สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2560). นโยบาย Thailand 4.0 คืออะไร. วารสารไทยคู่ฟ้าออนไลน์, 33, 4-5.-
dc.identifier.citationสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/894-
dc.description.abstractThe purposes of this research study were: 1) to develop e-Learning with CIPPA model on Micro:bit for grade 10 students of Tawarawadee school, 2) to evaluate quality of content and production techniques, 3) to compare pretest and posttest score, and 4) to study students’ satisfaction. The sample in this research study consisted of 30 students in grade 10 of Tawarawadee school. The purposive selection method was used. The research instruments included e-Learning, quality of content and production techniques evaluation from, learning achievement test, and satisfaction questionnaire. Data were analyzed using mean ( x ), standard deviation (S.D.) and dependent t-test. The research findings were as follows: 1) the e-Learning was comprised of three parts: 1.1) Introduction to Micro:bit, 1.2) Create game by Micro:bit, and 1.3) Communication via radio wave, 2) the experts agreed on the e-Learning quality of content at highest level ( x =4.93, S.D.=0.12) and the e-Learning quality of production techniques at highest level ( x =4.85, S.D.=0.18), 3) the posttest score was significantly higher than the pretest score at .05 level, and 4) students were satisfied after learning with the e-Learning at highest level ( x = 4.53, S.D. = 0.53).en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงร่วมกับการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) เรื่อง ไมโครบิท สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทวารวดี 2) เพื่อประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านเทคนิคการผลิต 3) เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิงร่วมกับการเรียนรู้แบบ ซิปปา (CIPPA Model) และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทวารวดี ได้จากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย บทเรียนอีเลิร์นนิง แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านเทคนิคการผลิต แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าสถิติ (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนอีเลิร์นนิง ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 3 ตอน ได้แก่ 1.1) รู้จักกับ Micro:bit 1.2) สร้างเกมด้วย Micro:bit และ 1.3) การสื่อสารผ่านคลื่นวิทยุ 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพบทเรียนอีเลิร์นนิง พบว่า ด้านเนื้อหามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ( x =4.93, S.D.=0.12) และด้านเทคนิคการผลิตมีความเหมาะสมในระดับ มากที่สุด ( x =4.85, S.D.=0.18) 3) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 4) ผู้เรียนมีความพึงพอใจหลังเรียนรู้ด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง อยู่ในระดับมากที่สุด ( x =4.53, S.D.=0.53)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjecte-Learning,en_US
dc.subjectCIPPA modelen_US
dc.subjectlearning achievementen_US
dc.titleThe Development of e-Learning with CIPPA Model on Micro:bit for Grade 10 Students of Tawarawadee Schoolen_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงร่วมกับการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA Model) เรื่อง ไมโครบิท สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทวารวดี-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.