Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/882
Title: A Comparison of Data Classification Efficiency for Diabetes Mellitus using Data Mining Techniques
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนกข้อมูลการเกิดโรคเบาหวานด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล
Authors: Phuttaraksa, Chaowat
Sisang, Pawin
Juntiwad, Wassana
Hengpraphorm, Supojn
Hengpraphorm, Kairung
เชาว์วรรธน์ พุทธรักษา
ภวินท์ สีแสง
วาสนา จันทิวาสน์
สุพจน์ เฮงพระพรหม
ไก้รุ่ง เฮงพระพรหม
Keywords: data classification
decision tree
k-NN
artificial neural network
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: หทัย แก้วกรณ์ และชริยา นนทกาญจน์. (2562).การจำแนกความสุกของกล้วยหอมโดนโครงข่ายประสาทเทียม ความน่าจะ เป็นด้วยฟังก์ชันความน่าจะเป็น Generalized Extreme Value. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. หน้า 248– 255.
พรเทพ ด่านน้อย และสุวิมล มรรควิบูลย์ชัย. (2562).การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนกข้อมูลการใช้บริการ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตของสถาบันอุดมศึกษา. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. หน้า 303– 311.
จักรกฤษณ์ หงส์เวียงจันทร์, นิติมา ลักขณานุรักษ์ และไก้รุ่ง เฮงพระพรหม.(2562). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนก กลุ่มข้อมูลโรคออทิสติกด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล.งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม.หน้า 321– 326.
สุระสิทธิ์ ทรงม้า.(2558). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจำแนกข้อมูลด้วยเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจรุ่นที่3 ที่ใช้เทคนิคการ แบ่งข้อมูลที่แตกต่างกัน. SDU Research Journal. หน้า 29-45.
เดช ธรรมศิริ และพยุง มีสัจ. (2554). การจำแนกข้อมูลด้วยวิธีแบบร่วมกันตัดสินใจจากพื้นฐานของเทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ เทคนิคโครงข่ายประสาทเทียม และเทคนิคซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน ร่วมกับการเลือกตัวแทนที่เหมาะสมด้วยขั้นตอน วิธีเชิงพันธุกรรม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ปีที่ 21. ฉบับที่ 2, หน้า 293 – 303.
เดช ธรรมศิริ และพยุง มีสัจ. (2554). การเรียนรู้แบบรวมกลุ่มด้วยโครงข่ายประสาทเทียมเอดาบูท สำหรับการจำแนกข้อมูล, วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ. ปีที่ 7. ฉบับที่ 14, หน้า 7-12.
Abstract: The research aimed to study and compare the techniques classified information to the appropriate classification of diabetes. In this research was to study the technique selected for use in this study, all three techniques include decision trees techniques. Neural networks Technical and closest neighbor to find the composite images of classified information, the best value in the development of diabetes. The results showed that the technique is far better results, Neural networks. The accuracy of 76.82 with a value equal to 0.86 precision by providing accurate value that is equal to 0.80, followed by the nearest neighbor technique. The accuracy of 72.27 by 0.82 by the precision accuracy that is equal to 0.77, and the final decision trees. The accuracy of 71.09 with a value equal to 0.89 precision by providing accurate value that is equal to 0.73.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบเทคนิคการจำแนกกลุ่มข้อมูลที่เหมาะสมกับการจำแนก ข้อมูลการเกิดโรคเบาหวาน ในการวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาคัดเลือกเทคนิคสำหรับใช้ในการวิจัยนี้ทั้งหมด 3 เทคนิค ได้แก่ เทคนิคต้นไม้ตัดสินใจ โครงข่ายประสาทเทียม และเทคนิคเพื่อนบ้านใกล้เคียงที่สุด เพื่อหาประสิทภาพของการจำแนกข้อมูลที่ ดีที่สุดในกลุ่มข้อมูลการเกิดโรคเบาหวาน ผลการวิจัยพบว่า เทคนิคที่ให้ผลลัพธ์ที่ดีสุดคือ โครงข่ายประสาทเทียม โดยให้ค่า ความถูกต้อง เท่ากับ 76.82 โดยให้ค่าความเที่ยงตรง เท่ากับ 0.86 โดยให้ค่าความแม่นยำที่สนใจ เท่ากับ 0.80 รองลงมาคือ เทคนิคเพื่อนบ้านใกล้เคียงที่สุด โดยให้ค่าความถูกต้อง เท่ากับ 72.27 โดยให้ค่าความเที่ยงตรง เท่ากับ 0.82 โดยให้ค่าความ แม่นยำที่สนใจ เท่ากับ 0.77 และสุดท้าย ต้นไม้ตัดสินใจ โดยให้ค่าความถูกต้อง เท่ากับ 71.09 โดยให้ค่าความเที่ยงตรง เท่ากับ 0.89 โดยให้ค่าความแม่นยำที่สนใจ เท่ากับ 0.73
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/882
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.