Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/874
Title: | Development of an Advisor Prototype System to Support Counseling and Activities with Students: Case Study of Nakhon Pathom Rajabhat University |
Authors: | Chomngamt, Surache Ubonrat, Sirisukpoca สุรเชษฐ์ โฉมงามอุ บลรัตน์ ศิริสุขโภคา |
Keywords: | Prototype System Advisor Online Advisor System |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | ขวัญไพร สุราช และอภิชาติ เหล็กดี. (2559). การพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาออนไลน์. การประชุมวิชาการระดับชาติการ
จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม. ฉัตรชัย อินทรประพันธ์ และชลธิชา แสงงาม. (2560). การพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาออนไลน์. การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 2 และการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่าย สหวิทยาการ ภาคกลาง สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์ พระนครศรีอยุธยา หันตรา, พระนครศรีอยุธยา. พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2543). เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปฏิรูปการศึกษา. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา, 12(34), 38-42. พิสุทธา อารีราษฎร์. (2551). การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์. ยุภา สุธงษา และทัสนันทน์ ตรีนันทรัตน์. (2556). การพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 15 (2), 86-92. สามารถ อัยกร. (2559). บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา (สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(2), 423-434. |
Abstract: | The purposes of the research were to 1) develop an advisor prototype system to support
counseling and activities with students: case study of Nakhon Pathom Rajabhat University, 2) evaluate
the website quality of the advisor prototype system to support counseling and activities with students:
case study of developed for Nakhon Pathom Rajabhat University, and 3) assess student satisfaction with
the advisor prototype website, to support counseling and student activities. The case study of Nakhon
Pathom Rajabhat University involves the amount of 30 people, group leader of grade 1-4, tools such as
the website quality of the advisor prototype system to support counseling and activities with students,
and Website Quality Assessment Form.
The research showed that the advisor prototype system to support counseling and activities
with students consisting of 4 parts including membership application and login, counselling board, news
section, and activities. The quality evaluation from experts who gave opinions on the prototype system
of the advisor to support the consultation and activities with the students at the highest level showed
mean equal to 4.58 and standard deviation equal to 0.40. The student satisfaction evaluation on the
website of the advisor prototype system to support the consultation and activities with the students
displayed the high level with an average of 4.06 and a standard deviation of 0.76. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาและการทำ กิจกรรมร่วมกับนักศึกษา กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2) ประเมินคุณภาพระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อ สนับสนุนการให้คำปรึกษาและการทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษา กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมที่พัฒนาขึ้นและ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาและการทำ กิจกรรมร่วมกับนักศึกษา กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ซึ่งเป็นหัวหน้าหมู่เรียนชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ ระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาและการทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษา แบบ ประเมินคุณภาพระบบต้นแบบ และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาและการทำกิจกรรมร่วมกับ นักศึกษา ประกอบไปด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนสมัครสมาชิกและการเข้าสู่ระบบ ส่วนของบอร์ดการให้คำปรึกษา ส่วนข่าวสาร และ กิจกรรม 2) ผลการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญที่มีความคิดเห็นต่อระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการให้ คำปรึกษาและการทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.40 และ 3) ผลการประเมินความพึงพอใจขอนักศึกษาต่อระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการ ให้คำปรึกษาและการทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.76 |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/874 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพัฒนาระบบต้นแบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาและการทำกิจกรรม.pdf | 853.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.