Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/873
Title: Egg production tracking system using QR Code. Case study For Nhongtong Farm Pabon District, Phatthalung Province
Authors: Tudbua Noppadon
Wannapho Mathinee
Chooprai Napharat
Srivisut Komsan
นพดล ตุดบัว
เมธินี วรรณโพธิ์
นภารัตน์ ชูไพร
คมศัลล์ ศรีวิสุทธิ์
Keywords: QR-Code, egg information
Egg production tracking system
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ทิพมล ชมภูคำ. (2562). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อติดตามและดูแลควบคุมภาวะทุพโภชนาการ ในเด็กวัยเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนบ้านมะโบ่ ตำบลลานสะแก อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 2562 (2), 163-175.
เสรี เพชรปุ่น. (2561). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน เพื่อควบคุมการออกตรวจของตำรวจสายตรวจบนตู้แดงออนไลน์. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ขวัญจุฑา คำบรรลือ. (2560). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับศูนย์รวบรวมสาย พันธุ์กล้วย เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2560 (1), 184-193.
ราเชนทร์ นามวงศ์. (2560). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการจัดการข้อเสนอโครงการสำหรับการเรียนรู้ด้วยวิจัย เป็นฐาน. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 2561 (1), 1-16
จิตรพงษ์ เจริญจิตร, (2559). “การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันในระบบงานตรวจสุขภาพ,” รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการ ระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 23 มิถุนายน 2559, หน้า 758-769.
จักรกฤษณ์ หมั่นวิชา และคณะ, (2559). “การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี QR Code ในพิพิธภัณฑ์เมืองหาดใหญ่,” รายงาน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 23 มิถุนายน 2559, หน้า 1427- 1436.
แสงเทียน ทรัพย์สมบูรณ์, (2559). “การพัฒนาสื่อการสอนเทคโนโลยีร่วมสมัยบนคิวอาร์โค้ด เรื่องลีลาศ,” รายงานการประชุม สัมนาวิชาการราชภัฏนครสวรรค์วิจัย ครั้งที่ 1, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 22-23 สิงหาคม 2559, หน้า 765-776.
อรลดา แซ่โค้ว. (2558). เว็บแอพพลิเคชันการจัดการความรู้ ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Abstract: The objective of the study was to develop the information system in order to monitor the production of egg using QR code. Case study for Nhongtong Farm Phatthalung. It is about how to apply website application with agriculture system by analyzing the problem of egg product and supposing the probability. The dominant feature of this developed system is using QR Code for searching for egg data, hen data, vaccinating, Feeding, Farm management system and Able to calculate the day-to-day rate of the hens. The developed system can help consumers verify egg production process. It about working as application which used PHP for main language and My SQLI for data base management system and used Nhongtong Farm server to operate. For evaluating, there were 2 pattern witch are 1) Efficiency assessment by 3 experts and 2) Satisfaction assessment by 50 users. The results of the study were follow: 1) Efficiency assessment by 3 experts was in good level ( 􀝔􀒧 = 4.35) 2) Satisfaction assessment by 50 users was in good level( 􀝔􀒧 = 4.33). According to the result, it can be concluded that the developed system can use for monitoring egg production.
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ในการติดตามการผลิตไข่ไก่ด้วยคิวอาร์โค้ด กรณีศึกษา ฟาร์มผลิตไข่ไก่ หนองธงฟาร์ม อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง เป็นการประยุกต์การใช้เว็บแอปพลิเคชันกับงาน ทางด้านเกษตรกรรม โดยการวิเคราะห์ปัญหาของการเกิดข้อผิดพลาดของสินค้าคือไข่ไก่ ให้สามารถตรวจสอบที่มาของไข่ไก่ และวิเคราะห์ความน่าจะเป็นของปัญหาที่เกิดขึ้นว่ามาจากขั้นตอนใด ลักษณะเด่นของระบบที่พัฒนาขึ้นมาคือ การใช้คิวอาร์ โค้ด เพื่อเรียกดูข้อมูลไข่ไก่ ข้อมูลแม่พันธ์ไก่ การให้วัคซีน การเลี้ยงดู อาหารที่ใช้ในการเลี้ยงไก่ ระบบการจัดการฟาร์ม และ สามารถคำนวณอัตราการไข่ต่อวันของแม่ไก่ได้ ซึ่งระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบข้อมูลการผลิต ไข่ไก่ได้โดยการนำเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มาช่วย ซึ่งระบบที่พัฒนาขึ้นเป็นการทำงานในลักษณะของเว็บแอปพลิเคชัน มีการใช้ภาษาหลักในการพัฒนาคือ PHP และระบบจัดการฐานข้อมูล My SQLI โดยใช้เซิร์ฟเวอร์หนองธงฟาร์มในการ ดำเนินงาน ในขั้นตอนการประเมินผลระบบที่พัฒนา มีการประเมิน 2 รูปแบบ คือการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดย ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน และประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานทั่วไป จำนวน 50 คน ผลการประเมินแสดงให้เห็นว่า ระบบ ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี (􀝔􀒧 = 4.35) จากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ และความพึงพอใจของผู้ใช้งานทั่วไปอยู่ ในระดับดี (= 4.33) จากการประเมินจึงสรุปได้ว่า ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้เป็นระบบสารสนเทศเพื่อติดตามการ ผลิตไข่ไก่ได้
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/873
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.