Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/870
Title: Changes of Sediment accumulation areas on the change of vegetation cover along the bank of Mekong River, Nakhon Phanom Province
การเปลี่ยนแปลงพื้นที่สะสมตะกอนดินต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ของพืชปกคลุมดินริมฝั่งโขง จังหวัดนครพนม
Authors: Pimmadee, Anongluk
Worachananant, Pasinee
อนงค์ลักษณ์ พิมมะดี
ภาสิณี วรชนะนันท์
Keywords: changes
Sediment accumulation
Remote sensing
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ทศวรรษ คุณาวัฒน์. (2563). ดินกระทบ น้ำสะเทือน เหล่าสัตว์ก็เลือนหาย. ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563 จาก http://www.nsm.or.th/other-service/1757-online-science/knowledge-inventory/sci-article/sciencearticle- nsm/4113-thesoil.html.
ธนพร เรืองโพน. (2550). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอุตุ-อุทกวิทยา ของลุ่มน้ำโขงตอนล่าง ส่วนของประเทศ ไทย. ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้า ธนบุรี.
ธีรเวทย์ ลิมโกมลวิลาศ. (2557). คาดการณ์การใช้ที่ดินลุ่มน้ำลำตะคอง พ.ศ.2567 ด้วยแบบจำลอง CA-MARKOV. วารสาร สังคมศาสตร์ มหาวิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 17 : 94-113.
มูลนิธิฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ มูลนิธิพิทักษ์ธรรมชาติเพื่อชีวิต และ เครือข่ายชุมชนลุ่มน้ำโขง จังหวัดอุบลราชธานี. ( 2555).
ชุมชนริมน้ำโขง ณ อุบลราชธานี: รายงานการศึกษาโดยชุมชน ว่าด้วยศักยภาพในการปรับตัวจากโครงการ ขนาดใหญ่และสภาวะโลกร้อน. กรุงเทพมหานคร.
วรรณพร ความสุข. (2549). ผลของการสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะการไหลของน้ำท่าในแม่น้ำ โขงตอนล่าง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วลดา เดชะพงศ์ธนา, สุพรรณ กาญจนสุธรรม, แก้ว นวลฉวีและนฤมล อินทรวิเชียร. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ พื้นผิวและดัชนีความแตกต่างพืชพรรณของพื้นที่นาข้าวในแต่ละช่วงการเจริญเติบโตจากข้อมูลดาวเทียม. วารสาร เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา 2 : 14-30.
Gupta, A., Hock, L., Xiaojing, H., & Ping, C. (2002). Evaluation of part of the Mekong River using satellite imagery. Geomorphology 44: 221–239. .
Katawut, W., Nayot, K., Morakot, W., & Pornperm, S. (2020). Monitor the Land Use Change and Prediction Using CA-Markov Model in Li Pe Island, Satun Province, Thailand. SPRINGERGEOGR, pp. 46-58.
Mcfeeter. (1996). The Use of Normalized Difference Water Index (NDWI) in the Delineation of OpenWater Features. International Journal of Remote Sensing 17: 1425–1432.
Sang, L., Chao, Z.,Jianyu, Y., Dehai, Z., & Wenju, Y. (2011). Simulation of land use spatial pattern of towns and villages based on CA-Markov model. Mathematical and Computer Modelling 54: 938-943
ธีรวัฒน์ สุวรรณเลิศเจริญ, ศิริลักษณ์ พฤกษ์ปิติกุล, วราทิพย์ บัวแก้วและณัทธร แก้วกู่. (2556). การเปลี่ยนแปลงและการ คาดการณ์การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุม, โดยประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศบริเวณลุ่มน้ำคลองกุย จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ ประจำปี 2556 25-27 ธันวาคม 2556 ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี.
Abstract: The object of this research is study of the change of Sediment accumulation areas on the change of vegetation cover along the bank of Mekong river, Nakhon Phanom Province. Apply Remote sensing and Geo- information Systems Using Landsat5 TM and Landsat8 OLI / TIRS to classify sediment accumulation areas, waterbody areas, and vegetation covered areas by the Normalized Difference Water Index (NDWI) and Normalized Difference Vegetation Index (NDVI) along the bank of Mekong bank 1998, 2008 and 2018. During 1998-2008, the results show that water body areas decreased by 50% and vegetation cover and sediment accumulation areas increase 37.36% and 1.43% respectively. While, during the years 2008-2018 found that the sediment accumulation areas increase by 50%, water body areas and vegetation cover areas decreased by 26% and 23.99% respectively. The analysis the relationship between NDWI and NDVI. Using Regression analysis found that inverse correlation R2 of 0.66 due to sediment accumulation areas increased, but the area of vegetation cover areas is reduced because of fluctuations in water level therefore the vegetation along the bank has. The prediction analysis by CA-Markov model results the trend of vegetation cover area and sediment accumulation area are reduced due to watershed development and climate change, it affects the physical and land use changes.
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สะสมตะกอนดินต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ของพืชปกคลุมดินริมฝั่งโขง จังหวัดนครพนม โดยประยุกต์การรับรู้ระยะไกลและระบบภูมิสารสนเทศ ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat5 TM และ Landsat8 OLI/TIRS ในการจำแนกพื้นที่สะสมตะกอนตะกอนดิน พื้นที่แหล่งน้ำและพื้นที่พืชปกคลุมด้วยค่าดัชนีความต่างของน้ำ (NDWI) และดัชนีความต่างของพื้นพรรณ (NDVI) บริเวณริมฝั่งโขง ในปี พ.ศ.2541 2551 และ 2561 ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ในช่วงปี พ.ศ. 2541-2551 พบว่าพื้นที่แหล่งน้ำลดลงร้อยละ 50 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นคือพื้นที่พืชปกคลุมและพื้นที่สะสม ตะกอนดิน ร้อยละ 37.36 และ 1.43 ตามลำดับ ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2561 พบว่าพื้นที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นคือ พื้นที่สะสม ตะกอนดิน ร้อยละ 50 และแนวโน้มลดลงคือ พื้นที่แหล่งน้ำและพื้นที่พืชปกคลุม ร้อยละ 26 และ 23.99 ตามลำดับ เมื่อทำ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีความต่างแหล่งน้ำ (NDWI) และ ดัชนีความต่างพืชพรรณ (NDVI) โดยการวิเคราะห์การ ถดถอย (regression analysis) พบว่า มีความสัมพันธ์แบบผกผัน ค่า R2 เท่ากับ 0.66 เนื่องจากพื้นที่สะสมตะกอนดินเพิ่มขึ้น แต่พื้นที่พืชปกคลุมกลับลดลงเพราะเกิดการผันผวนของระดับน้ำ พืชพรรณริมตลิ่งจึงได้รับผลเหี่ยวแห้ง จากการวิเคราะห์การ คาดการณ์โดยแบบจำลอง CA-Markov พบว่ามีแนวโน้มของพื้นที่พืชปกคลุมและพื้นที่สะสมตะกอนดินลดลง เนื่องจากมีการ พัฒนาลุ่มน้ำอยู่ตลอดสายน้ำและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจึงส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้ายกายภาพและการใช้ ประโยชน์ที่ดินของริมฝั่งโขง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/870
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.